Categories: All - สถิติ - การวิเคราะห์ - ตัวแปร - ข้อมูล

by s n 5 years ago

500

สถิติพื้นฐานและการเก็บรววบรวมข้อมูล

การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ทางสถิติเป็นกระบวนการที่สำคัญในการทำวิจัย ข้อมูลสามารถแบ่งออกเป็นหลายประเภทตามระดับการวัด เช่น นามบัญญัติ เรียงอันดับ อันตรภาค และอัตราส่วน การวิเคราะห์สถิติสามารถทำได้ทั้งในรูปแบบพรรณนาและการอนุมาน โดยการวิเคราะห์พรรณนาจะเน้นการอธิบายลักษณะของข้อมูล เช่น การทำตารางหรือการคำนวณค่าทางสถิติ ส่วนการวิเคราะห์อนุมานจะเน้นการสรุปผลจากกลุ่มตัวอย่างไปยังประชากรทั้งหมด การวิเคราะห์สถิติหลายตัวแปรและสองตัวแปรเป็นวิธีการที่สำคัญในการศึกษาความสัมพันธ์หรือความแตกต่างระหว่างตัวแปรต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น การวิเคราะห์ตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม ซึ่งสามารถเป็นได้ทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ นอกจากนี้ ยังมีสถิติพารามิเตอร์และไร้พารามิเตอร์ ซึ่งมีวิธีการและข้อตกลงเบื้องต้นที่แตกต่างกัน การเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมจะช่วยให้การวิจัยมีความน่าเชื่อถือและสามารถสรุปผลได้อย่างถูกต้อง

สถิติพื้นฐานและการเก็บรววบรวมข้อมูล

สถิติพื้นฐานและการเก็บรววบรวมข้อมูล

สถิติพรรณนาสำหรับตัวแปรเชิงคุณภาพ

ใช้กกับข้อมูลที่เก็บจากแบบสอบถาม มีการลงรหัสข้อมูลให้เป็นตัวเลข(Coding)ใช้ได้กับข้อมูลประเภทที่มีระดับการวัดแบบช่วง(Interval Scale) และมีการวัดแบบอัตราส่วน(Ratio Scale) สถิติพรรณนาสำหรับตัวแปรเชิงปริมาณ เช่น ขนาดตัวอย่าง(N) ค่าการผันแปร(Variance) พิสัย(Range)

ประเภทของตัวแปรที่ใช้ในสถิติ

ประเภทของตัวแปรตามระดับของการวัด
ตัวแปรอัตราส่วน(Ratio)
ตัวแปรช่วงหรืออันตรภาค(Interval)
ตัวแปรอันดับ(Ordinal)
ตัวแปรกลุ่ม หรือ นามมาตร หรือ นามกำหนด(Norminal)
ประเภทตัวแปรตามบทบาท
***ตัวแปรคบคุม คือ ตัวแปรที่ส่งผลต่อการทดลองอาจทำให้การทดลองคลาดเคลื่อน จึงต้องควบคุมไว้
ตัวแปรตาม(Dependent Variables) คือ ตัวแปรที่เปลี่ยนไปตามตัวแปรต้น หรือผลของตัวแปรต้น
ตัวแปรอิสระ(Independent Variables) คือ ตัวแปรที่กำหนดขึ้นเพื่อทดสอบสมมติฐานเป็นตัวแปรที่เราเปลี่ยนไปเพื่อจะดูผลที่ตามมา

ประเภทของสถิติ

Inferential Statistics
สถิติไร้พารามิเตอร์(Nonparametric Statistics) เป็นวิธีการทางสถิติที่สามารถนำมาใช้ได้โดยปราศจากข้อตกลงเบื้องต้นทั้ง 3 ประการข้างต้น สถิติที่อยู่ในประเภทนี้ เช่น ไคสแควร์, Median Test
สถิติพารามิเตอร์(Parametric Statistics) การวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมมาจากกลุ่มตัวอย่างเพื่ออธิบาย สรุปลักษณะบางประการของประชากร โดยมีการนำทฤษฎี ความน่าจะเป็นมาประยุกต์ใช้
วิเคราะหข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อนำไปสู๋การลงนัยสรุปไปยังประชากร
Descriptive Statistics
เกี่ยวข้องกับการทำตารางการพรรณนา การอธิบายข้อมูลสถิติที่ใช้ เช่น ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน ค่าฐานนิยม ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าพิสัย ฯลฯ

การใช้สถิติเพื่อวิเคราะห์ตัวแปรในการวิจัย

การวิเคราะห์สถิติหลายตัวแปร (Univariate และ Multivariate)
วัตถุประสงค์ของการใช้สถิติหลายตัวแปร คือ เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่าง หรือ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรโดยมีตัวแปรอิสระมากว่าหนึ่งตัว
การวิเคราะห์สถิติสองตัวแปร (Bivariate)
3) ตัวแปรอิสระและตัวแปรตามเป็นตัวแปรเชิงปริมาณ
2) ตัวแปรอิสระเป็นตัวแปรเชิงคุณพภาพและตัวแปรตามเป็นตัวแปรเชิงปริมาณ
1) ตัวแปรอิสระและตัวแปตามเป็นตัวแปรเชิงคุณภาพ

ประเภทของข้อมูล

4) อัตราส่วน (Ratio Scale)
จัดเป็นกลุ่มได้บอกความมกาน้อย หรือเรียงลำดับได้มีค่าเป็นตัวเลขที่มีช่วงห่างเท่ากัน มีจุดเริ่มต้นจาก 0
3) อันตรภาค (Interval Scale)
จัดเป็นกลุ่มได้บอกระดับความมากน้อย หรือเรีบงลำดับได้ มีค่าเป็นตัวเลขที่มีช่วงห่างเท่ากัน
2) เรียงอันดับ (Ordinal Scale)
จัดเป็นกลุ่มได้บอกระดับความมากน้อย หรือเรียงลำดับได้ เช่น ตัวแปรวุฒิการศึกษา(ประถม มัธยม)
1) นามบัญญัติ (Nominal Scale)
จัดเป็นกลุ่มได้ เช่น ตัวแปรเพศ (ชาย หญิง)

ความหมายของสถิติ

ข้อมูล หรือสารสนเทศตัวเลข หรือข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม