Categories: All - บรรณานุกรม - สืบค้น - ฐานข้อมูล

by Potjamarn Buasang 5 years ago

340

การสืบค้นสารสนเทศเเละความรู้

OPAC เป็นเครื่องมือสำคัญที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศใช้ในการให้บริการสืบค้นข้อมูลและทรัพยากรต่างๆ โดยไม่จำกัดด้านระยะทาง ผู้ใช้สามารถค้นหาข้อมูลบรรณานุกรมและดรรชนีวารสารผ่านระบบคอมพิวเตอร์ได้ง่ายๆ โดยการป้อนข้อมูลที่ต้องการค้นหาในช่องที่กำหนด ระบบจะเสนอผลการค้นหาที่เกี่ยวข้องมาให้เลือกดูเพิ่มเติม หากต้องการดูรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับหนังสือหรือวารสารที่สนใจก็สามารถคลิกเพื่อดูข้อมูลเชิงลึกได้ทันที ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นด้วย OPAC จะให้รายละเอียดที่ครอบคลุม เช่น ชื่อเรื่อง ชื่อผู้แต่ง เลขมาตรฐานสากล สถานที่จัดเก็บและสถานภาพของทรัพยากร นอกจากนี้ยังมีการระบุหัวเรื่องและคำสำคัญที่แทนเนื้อหาของทรัพยากร ดังนั้น การใช้ OPAC ช่วยให้การค้นหาข้อมูลในห้องสมุดเป็นไปอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทั้งยังช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้อย่างสะดวกสบาย ไม่ว่าจะอยู่ที่ใดก็ตาม

การสืบค้นสารสนเทศเเละความรู้

จัดทำขึ้นเพื่อให้บริการสำหรับผู้ที่ต้องการสืบค้นสารสนเทศ โดยไม่ มีข้อจำกัดในด้านระยะทาง

การสืบค้นสารสนเทศเเละความรู้

การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์หรือ OPAC
ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นด้วย OPAC

ข้อมูลดรรชนีวารสาร (Periodical Index)

หัวเรื่อง (Subject) เพื่อใช้ในการสืบค้นต่อ

เลขมาตรฐานสากลประจ าวารสาร (ISSN)

ชื่อวารสาร (Journal) บอกข้อมูลเกี่ยวกับชื่อวารสาร ปีที่ฉบับที่ เดือน ปีและ เลขหน้าที่ปรากฏบทความ

สถานที่ (Location) บอกสถานที่เก็บและให้บริการวารสาร

ชื่อห้องสมุดที่บอกรับวารสารชื่อนั้นๆ (Library that have this journal) บอก ข้อมูลเกี่ยวกับห้องสมุดและปีท

ปี(Year) ได้แก่ ปีพิมพ์ของวารสาร

ชื่อเรื่อง (Title) เป็นชื่อบทความวารสาร

ข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic description)

เลขมาตรฐาน (ISBN) เป็นเลขมาตรฐานสากลประจ าหนังสือแต่ละรายการ

หัวเรื่อง (Subject) เป็นการระบุค าหรือกลุ่มค าที่ใช้แทนเนื้อหาของทรัพยากร

สถานที่ (Location) เป็นการบอกว่าทรัพยากรรายการนั้นอยู่ที่ห้องสมุดใด

หมายเหตุ (Note) เป็นการระบุข้อมูลของทรัพยากรเพิ่มเติม

รูปเล่ม (Description) บอกข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนหน้า

เลขเรียกหนังสือ (Call number) เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนทรัพยากร

สถานภาพ (Status) สถานภาพของทรัพยากรสารสนเทศ

พิมพลักษณ์ (Imprint)

ชื่อเรื่อง(Title) ของหนังสือ ชื่อวารสาร รายงานวิจัย

ชื่อผู้แต่ง (Author) อาจเป็นชื่อบุคคลหรือหน่วยงาน

วิิธีการสืบค้นโดยใช้ทางเลือกต่างๆ ใน OPAC

หากต้องการได้รายละเอียดที่สมบูรณ์ของรายการใด ให้คลิกเม้าส์ที่ รายการที่ต้องการระบบจะแสดงรายละเอียดที่สมบูรณ

หากต้องการได้รายละเอียดโดยย่อของรายการใด ให้คลิกเม้าส์ที่ รายการที่ต้องการ

ป้อนข้อมูลที่ต้องการสืบค้นตามรายการที่ใช้เป็นทางเลือก

จากหน้าจอรายการหลักของ OPAC ให้เลือกรายการที่ต้องการจะใช้ เป็นทางเลือกในสืบค้นจากเมน

ผู้สืบค้นมีทางเลือกในการสืบค้นหลายทาง เช่น ชื่อผู้ แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง คำสำคัญ เลขเรียกหนังสือ เป็นต้น
ปรับเปลี่ยนจากรูปแบบบัตรรายการในตู้บัตรรายการมาเป็น ระเบียนบรรณานุกรมในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์
เป็นรูปแบบหนึ่งของเครื่องมือช่วยค้นทรัพยากรสารสนเทศ ของห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศ
การสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต

เทคนิคการใช้รหัสกำกับคำค้น

สืบค้นโดยใช้เขตข้อมูลกำกับลงในประโยคการค้น

สืบค้นจากเมนูทางเลือก (Drop down menu

เทคนิคการใช้คำใกล้เคียง

โดยใช้คำว่า ADJ, NEAR, FAR และ BEFORE ประกอบ เป็นประโยคการค้น

เทคนิคการตัดคำ

การสืบค้นในลักษณะของ Stemming

การใช้เครื่อง กลไกส่วนใหญ่ใช้เครื่องหมาย * (asterisk)

เทคนิคตรรกบูลลีน

การใช้เครื่องหมาย + (Plus) หรือ – (Minus

การใช้เทคนิคตรรกบูลลีนจากเมนูทางเลือก (Drop down menu) ว่าต้องการ สืบค้นการที่เกี่ยวข้องกับค าค้นอย่างไร

การใช้ And, Or, Not ประกอบเป็นประโยคการค้น

เว็บไซต์ที่ทำหน้าที่ค้น ข้อมูลมี 2 ประเภท

เครื่องมือสืบค้น (Search engine)

องค์ประกอบของกลไกการสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต (Search Engine)

โปรแกรมค้นข้อมูล (Search Engine Software หรือ Query Processor) ทำ หน้าที่เปรียบเทียบความเกี่ยวข้องระหว่างเว็บไซต

ตัวดรรชนี (Indexer) หรือ Catalog ซึ่งเป็นฐานข้อมูลทำหน้าที่รวบรวมคำ

ตัวสำรวจหรือรวบรวมข้อมูล (Spider หรือ Crawler หรือ Robot)

แต่ละตัวได้รับการพัฒนาจากบุคคลหลายๆ หน่วยงาน มีผลให้ Search Engine แต่ละตัวมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป

เครื่องมือในการสืบค้นที่อาศัยการทำงาน ของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น

นามานุกรม (Web Directories)

คัดแยกสารสนเทศเหล่านั้นออกเป็นกลุ่ม ตามสาขาวิชา

เครื่องมือในการสืบค้นที่รวบรวมสารสนเทศ บนอินเทอร์เน็ต

เวิล์ดไวด์เว็บ (World Wide Web หรือ WWW)

ข้อมูลทางด้านบันเทิง ทีวี เกม ภาพยนตร์ เพลง และอื่นๆ

บทความที่เลือกสรรเฉพาะ (Selected Article Reprints)

การแถลงข่าวแก่สื่อมวลชน (Press Release)

ข่าวสารข้อมูลทางราชการ (Governmental Information)

ข่าวสารทันสมัย (Current News)

การจัดแบ่งหมวดหมู่ของสิ่งพิมพ์ในสถาบันบริการสารสนเทศ (Library Catalog

นามานุกรมของพนักงานของแต่ละหน่วยงาน (Staff Directory)

ข้อมูลการตลาดสำหรับสินค้า (Product Information

เรียกคอมพิวเตอร์ที่จัดเก็บ และคอยให้บริการข้อมูลของเว็บไซต์ว่าเว็บเซิร์ฟเวอร์(Web Server)
เก็บข้อมูลต่างๆไว้มากมาย แต่ละเว็บไซต์จะมี ชื่อโดเมน (Domain name) ที่ไม่ซ้ำกัน
ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database)
เทคนิคการสืบค้นอย่างง่าย

เลือกรายการที่ตรงกับความต้องการและบันทึกผลข้อมูล

แสดงผลการสืบค้น

การแสดงผลแบบอิสระ

การแสดงผลแบบย่อ

การแสดงผลแบบเต็มรูปแบบ

ลงมือสืบค้น โดยทั่วไปสามารถสืบค้นได้2 วิธี

การ สืบค้นโดยการพิมพ์คำสั่ง

การใช้เมนูในการสืบค้น

เลือกค้นจากฐานข้อมูลที่เหมาะสม

วิเคราะห์เรื่องที่ต้องการสืบค้นและกำหนดคำสำคัญเพื่อใช้ในการค้น

ฐานข้อมูลออนไลน์ไว้บริการผู้ใช้อยู่ 2 ลักษณะ

ฐานข้อมูลทดลองใช้

ฐานข้อมูลสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ ฐานข้อมูล

ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศบอกรับเป็นสมาชิก

เป็นแหล่งสารสนเทศที่มีขนาดใหญ่และ ขอบเขตกว้างขวาง