Categories: All - บรรณานุกรม - การอ้างอิง

by พิชชาภรณ์ กาญจนเพชร 4 years ago

724

บทที่ 4 กลไกราคา : อุปสงค์และอุปทาน

การทำความเข้าใจเกี่ยวกับกลไกราคาเป็นสิ่งสำคัญในการศึกษาทางเศรษฐศาสตร์ โดยเฉพาะในหัวข้ออุปสงค์และอุปทาน ซึ่งเป็นพื้นฐานที่ทำให้สามารถเข้าใจการเคลื่อนไหวของตลาดได้ นอกจากนี้ การจัดการข้อมูลและการอ้างอิงเอกสารอย่างถูกต้องก็เป็นสิ่งสำคัญในการทำงานวิจัย การบรรณานุกรมเป็นการรวบรวมรายชื่อเอกสารที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า โดยมีรูปแบบในการลงชื่อผู้แต่งและสถานที่พิมพ์อย่างชัดเจน การอ้างอิงเอกสารเป็นการบอกแหล่งที่มาของข้อมูลที่นำมาใช้ ซึ่งช่วยให้การทำงานมีความน่าเชื่อถือและป้องกันการโจรกรรมทางวรรณกรรมหรือการลอกเลียนแบบผลงานของผู้อื่น ความไม่สุจริตทางวิชาการยังเป็นประเด็นที่สำคัญที่ต้องระวัง ดังนั้นการลงข้อมูลให้ถูกต้องและครบถ้วนจึงเป็นสิ่งที่ควรให้ความสำคัญในการทำงานทุกครั้ง

บทที่ 4
กลไกราคา : อุปสงค์และอุปทาน

บทที่ 4 กลไกราคา : อุปสงค์และอุปทาน

การเรียงลำดับบรรณานุกรม

เอกสารผู้แต่งที่เป็นสถาบัน สมาคม หน่วยงาน ให้เรียงตามลำดับอักษรตัวแรกของชื่อสถาบันที่สะกดเต็ม โดยเรียงไปทีละลำดับตั้งแต่หน่วยงานใหญ่ถึงหน่วยงานย่อย
ถ้าชื้อผู้แต่งเหมือนกัน ให้เรียตามอักษรของชื่อต้นและชื่อกลาง
ถ้าเรียงงานหลายงานที่มีช่อผู้แต่งคนแรกเหมือนกัน โดยใช้หลักดังนี้ ให้เรียงรายการที่มีผู้แต่งคนเดียวมาก่อนรายการที่มีหลายคน ถ้ามีผู้แต่งคนแรกซ้ำกัน ให้เรียงตามผู้แต่งคนต่อมา
ถ้ามีภาษาอังกฤษกับภาษาไทยให้เรียงแยกกันโดยให้เรียงภาษาไทยมาก่อนเสมอ
เรียงลำดับตามลำดับอักษรตัวแรกของรายการที่ปรากฎ(ก-ฮ,A-Z)

การโจรกรรมทางวรรณกรรม หรือการโขมยความคิด(Plagiarism)

ความหมาย การลอกงานเขียน ความคิดหรืองาน สร้างสรรค์ดั้งเดิม ทั้งหมดหรือบางส่วนที่เหมือนหรือเกือบเหมือนงานดั้งเดิมของผู็อื่นมาแอบอ้างเป็นงานดั้งเดิมของตนเอง

การลงสำนักพิมพ์หรือผู้จัดพิมพ์

ในกรณีที่ไม่ปรากฏชื่อสำนักพิมพ์ หรือโรงพิมพ์ ให้ระบุคำว่า ม.ป.พ. หรือ n.p. (No Publisher) โดยระบุไไว้ในเครื่องหมาย []
ห้ามใส่คำว่า สำนักพิมพ์ หรือ Publisher

การลงสถานที่พิมพ์

ถ้าไม่ปรากฏชื่อเมืองให้ใส่ ม.ป.ท. หมายถึง ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์ หรือ n.p. (no place) แทน โดยใส่ในเครื่องหมาย []

การอ้างอิงเอกสาร(Citation)

เอกสารอ้างอิง คือ รายชื่อเอกสารที่ผู้เขียนใช้ศึกษาค้นคว้าในการเรยบเรียงรายงานนั้นๆ และเป็นเอกสารที่ได้เขียนรายการอ้างอิงไว้ในส่วนเนื้อเรื่องเท่านั้น
คือ การบอกแหล่งที่มาของข้อมูลที่ผู้เขียนนำมาใช้อ้างอิงในการเขียนผลงาน

คำศัทพ์ยาก❗️🤯

บทความตีพิมพ์ซ้ำ(Multiple Publication)
ความไม่สุจริตทางวิชาการ (Academic Dishonesty)
การฉ้อฉลทางวิชาการ(AcademicFraud)
สำนักพิมพ์(Publisher)
การลงชื่อผู้แต่ง(Author’s Name)
หนังสือทั่วไป(GeneralBooks)

บรรณานุกรม

บรรณานุกรมสำหรับหนังสือทั่วไป(General Books)รูปแบบ ชื่อผู้แต่ง.(ปีพิมพ์).ชื่อเรื่อง.ครั้งที่พิมพ์(ครั้งที่ 2 เป็นต้นไป).สถานพิมพ์:สำนักพิมพ์.
รายชื่อเอกสารที่ผู้เขียนใช้ศึกษาค้นคว้าในการเียบเรียงเรื่องนั้นๆ ทั้งที่ได้เขียนรายการอ้าวอิงไว้ในส่วนเนื้อเรื่องและเอกสารที่ไม่ได้ใช้อ้างอิงในส่วนเนื้อเรื่องแต่ไม่ได้อ่านประกอบเรียบเรียงนำมาใส่ไว้ในส่วนท้ายรายงาน

Demand

Law of Demand
ปริมาณสินค้าชนิดหนึ่งที่ผู้ซื้อต้องการซื้อและมีความสามารถ ที่จะซื้อสิ้นค้านั้นได้ ณ ราคาต่าง ๆ
2. ผู้บริโภคมีความสามารถที่จะซื้อ (Ability to Pay)
1. ผู้บริโภคมีความเต็มใจที่จะซื้อ (Willing to Pay)

การลงปีพิมพ์

ถ้าไม่ปรากฏปีที่พิมพ์ให้ใส่ ม.ป.ป. หมายถึง ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์ หรือ n.d. หมายถึง no date แทนโดยใสาไว้ในเครื่องหมาย []
ให้ระบุเฉพาะตัวเลข ไว้ในเครื่องหมาย () เสมอ

การลงชื่อหนังสือหรือชื่อเรื่อง

ชื่อเรื่องมีทั้งภาษาไทยแลภาษาอังกฤษให้ใส่เฉพาะภาษาไทย
ชื่อหนังสือที่เขียนเป็นภาษาไทยแต่ชื่อเรื่องเป็นภาษาอังกฤษให้ถอดคำเป็นภาษาไทยก่อนแล้วจึงใส่ชื่อภาษาอังกฤษไว้ในวงเล็บ

การลงครั้งที่พิมพ์

ตย.สมชาย ดีที่สุด.(2558).แหล่งสาสรสนเทศบนอินเตอร์เน็ต.[พิมพ์ครั้งที่ 2].ขอนแก่น:รักษ์ไทยการพิมพ์.
ภาษาอังกฤษให้ใช้ตัวย่อ ed.
ใส่ครั้งที่พิมพ์ตั้งแต่ครั้งที่สองเป็นต้นไป