Categories: All - สารสนเทศ - บรรณานุกรม - ฐานข้อมูล - เครื่องมือ

by Aueamporn Petsuk 5 years ago

250

การสืบค้นสารสนเทศและรู้

การสืบค้นสารสนเทศในยุคปัจจุบันสามารถทำได้หลายวิธี โดยวิธีที่แพร่หลายที่สุดคือการใช้เครื่องมือสืบค้นบนอินเทอร์เน็ต เช่น Google, MSN Live Search และ Ask เครื่องมือเหล่านี้ช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังมีนามานุกรมหรือ web directories ที่รวบรวมข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตและจัดกลุ่มตามสาขาวิชาหรือเกณฑ์ต่างๆ ตัวอย่างเช่น Yahoo, Business.

การสืบค้นสารสนเทศและรู้

การสืบค้นสารสนเทศและรู้

Type in the name of your subject.

การสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต

2 เครื่องมือสืบค้น (Search englne)
เป็นการสืบค้นที่อาศัยการทำงานของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น

3 Ask (http://www.ask.com/)

2.MSN Live Search(http://www.live.com/)

1 Google (http://www.google.com)

1 นามานุกรม (web directorles)
เป็นเครื่องมือในการสืบค้นที่รวบรวมสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต และคัดแยกสารสนเทศเหล่านั้นออกเป็นกลุ่ม ตามสาขาวิชาหรือเกณฑ์

Librarian’s IndexInternet (http://wwwlii.org)

Business.com (www.business.com/)

Starting Point(www.stpt.com/directory/)

Dmoz(www.dmoz.org/)

Yahoo (http://www.yahoo.com)

เครื่องมือสารสนเทศ

เครื่องมือและรวมถึงอุปกรณ์ต่างๆที่อ านวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการสืบค้นรายการสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างรวดเร็วทันความต้องการโดยทั่วไปเครื่องมือสืบค้นสารสนเทศที่มีการใช้กันแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆได้แก่ การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์

เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต

เทคนิคอื่นๆ
ควรใช้คำหลากหลายและไม่เกิน 32 คำ
การหานิยามหรือความหมายของคำ
การกรองสิ่งที่ค้นหา
ค้นหาช่วงชุดของตัวเลข ..
การค้นหากลุ่มคำหรือคำที่ไม่แน่ใจ *
การค้นหาคำพ้องความหมาย~
การใช้เครื่องหมายคำพูด ".."
เทคนิคการใช้รหัสกำกับคำค้น
สืบค้นโดยใช้เขตข้อมูลกำกับลงในประโยคการค้น
สืบค้นจากเมนูทางเลือก
เทคนิคการใช้คำใกล้เคียง
BEFORE
FAR
NEAR
ADJ
เทคนิคการตัดคำ
การสืบค้นจากรากศัพท์
การใช้เครื่องหมาย *
เทคนิคตรรกบูลลีน
การใช้เครื่องหมาย +,-
การใช้เทคนิค บูลลีนจากเมนูทางเลือก
การใช้ And Or Not

องค์ประกอบของกลไกการสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต (Search Englng)

3) โปรแกรมค้นข้อมูล (Search Engine Softwareหรือ Query Processor) ทำหน้าที่เปรียบเทียบความเกี่ยวข้องระหว่างเว็บไซต์และความต้องการของผู้สืบค้นว่ามีความเกี่ยวข้องมากน้อยเพียงใด จากนั้นจะจัดลดับความเกี่ยวข้องของเว็บต่าง ๆ ออกมาแสดงผล
2)ตัวดรรชนี (Indexer) หรือ Catalog ซึ่งเป็นฐานข้อมูลทำหน้าที่รวบรวมคำ และตำแหน่งทุกๆ เพจที่ตัวสำรวจรวบรวมมาได้ ในส่วนนี้จะมีโปรแกรมช่วยในการจัดทำดรรชนีเพื่อให้ผู้ใช้สามารถค้นหาสารสนเทศได้สะดวกขึ้น วิธีการจัดทำดรรชนีในแต่ละกลไกการสืบค้นมักจะแตกต่างกันไป เช่น บางโปรแกรมทำดรรชนีให้แก่คำทุกค า บางโปรแกรมทำดรรชนีให้เฉพาะส่วนชื่อเรื่องและหัวข้อใหญ่ เป็นต้น นอกจากนี้สารสนเทศที่ทำการจัดเก็บในฐานข้อมูลหรือในดรรชนีจะมีเฉพาะ URL ของเอกสารเท่านั้น เมื่อผู้สืบค้นพบแหล่งสารสนเทศที่ต้องการ กลไกจึงท าการเชื่อมโยงผู้สืบค้นไปยังแหล่งนั้นโดยตรง ฐานข้อมูลมิได้รวบรวมสารสนเทศทั้งหมดของแต่ละแหล่งสารสนเทศเอาไว้
1)ตัวสำรวจหรือรวบรวมข้อมูล(SpiderหรือCrawlerหรือ Robot)เป็นซอฟต์แวร์ส าหรับส ารวจเว็บ โดยจะท าหน้าที่ตระเวณไปยังเว็บไซต์ต่างๆ เพื่อท าการรวบรวมสารสนเทศ และส่งกลับมายังดรรชนีหรือฐานข้อมูลเพื่อท าการประมวลผล

1 การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์

1.2 ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นด้วย OPAC
1.2.2ข้อมูลดรรชนีวารสาร(Periodical Index)
1.2.1ข้อมูลบรรณานุกรม(Bibliographic description)
1.1 วิธีการสืบค้นโดยใช้ทางเลือกต่างๆ ใน OPC
1.1.4 หากต้องการได้รายละเอียดที่สมบูรณ์ของรายการใด ให้คลิกเม้าส์ที่รายการที่ต้องการระบบจะแสดงรายละเอียดที่สมบูรณ์ของรายการนั้นๆหากเป็นหนังสือหรือโสตทัศนวัสดุรายละเอียดที่ได้ประกอบด้วยเลขเรียกหนังสือสถานที่ที่มีทรัพยากรสารสนเทศนั้นรายละเอียดทางบรรณานุกรม สถานภาพของหนังสือว่ามีกี่เล่มมีอยู่ที่ใดอยู่บนชั้นหรือมีผู้ยืมไปถ้ามีผู้ยืมจะบอกวันที่ก าหนดส่งคืน(date due)หากเป็นบทความวารสารระบบจะแสดงผลการสืบค้นเป็นรายการย่อซึ่งประกอบด้วยชื่อบทความชื่อวารสาร ปีที่ ฉบับที่ และปีพิมพ์ของวารสารที่ตีพิมพ์บทความนั้น รวมทั้งบอกด้วยว่าห้องสมุดมีวารสารนั้นตั้งแต่ปีใดถึงปีใด
1.1.3 หากต้องการได้รายละเอียดโดยย่อของรายการใด ให้คลิกเม้าส์ที่รายการที่ต้องการระบบจะแสดงรายละเอียดของรายการดังกล่าว ซึ่งจะประกอบไปด้วยชื่อเรื่อง ชื่อผู้รับผิดชอบ และปีพิมพ์
1.1.2 ป้อนข้อมูลที่ต้องการสืบค้นตามรายการที่ใช้เป็นทางเลือกเช่นเลือกทางเลือกผู้แต่ง พิมพ์ชื่อผู้แต่ง เลือกทางเลือกคำสำคัญ พิมพ์ คำสำคัญที่ต้องการสืบค้น เป็นต้น ลงในช่องสี่เหลี่ยม แล้วคลิกเม้าท์ที่คำว่าค้นหา หรือ สืบค้น ระบบจะทำการสืบค้น และแสดงผลการสืบค้นบนหน้าจอ พร้อมทั้งบอกจำนวนรายการที่ค้นได้
1.1.1 จากหน้าจอรายการหลักของOPACให้เลือกรายการที่ต้องการจะใช้เป็นทางเลือกในสืบค้นจากเมนู เช่นชื่อผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องเป็นต้น นอกจากนี้ควรเลือกให้ถูกต้องด้วยว่าต้องการสืบค้นหนังสือ โสตทัศนวัสดุ หรือบทความในวารสารตามช่องที่ก าหนด

2 ฐานข้อมูลออนไลน์

การสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์
5เลือกรายการที่ตรงกับความต้องการและบันทึกผลข้อมูลเพื่อให้ระบบทราบว่าต้องการรายการใดบ้างในพิมพ์ผลออกทางกระดาษ
4 แสดงผลการสืบค้นเมื่อสืบค้นจนได้ปริมาณรายการที่พอเพียงกับความต้องการแล้วสามารถแสดงผลรายการที่สืบค้นได้3 รูปแบบใหญ่คือ4.1การแสดงผลแบบเต็มรูปแบบแสดงผลทุกเขตข้อมูลที่รายการนั้นมีอยู่4.2การแสดงผลแบบย่อแสดงผลเฉพาะรายการทางบรรณานุกรมเท่านั้น4.3การแสดงผลแบบอิสระแสดงผลที่ก าหนดเขตข้อมูลในการแสดงผลด้วยตัวเอง
3 ลงมือสืบค้นโดยทั่วไปสามารถสืบค้นได้2 วิธีคือการใช้เมนูในการสืบค้นและการสืบค้นโดยการพิมพ์ค าสั่งการสืบค้นโดยใช้เมนูสามารถท าได้ง่ายไม่จ าเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับฐานข้อมูลที่สืบค้นมากนักแต่การสืบค้นโดยใช้ค าสั่งผู้ใช้จ าเป็นต้องศึกษาค าสั่งต่างๆในการสืบค้นโดยฐานข้อมูลแต่ละฐานที่จัดท าโดยบริษัทที่แตกต่างกันมักมีวิธีการสืบค้นที่แตกต่างกันด้วย

Add details about where you can get it from. For e.g.: library, bookstore, audiobook, etc.

2 เลือกค้นจากฐานข้อมูลที่เหมาะสม ทั้งนี้ต้องทราบว่าเรื่องที่สืบค้นนั้นเป็นเรื่องในสาขาใดเลือกฐานข้อมูลให้ตรงหรือใกล้เคียงกับสาขาวิชาที่สืบค้นเพื่อช่วยให้ได้ผลการสืบค้นที่ตรงกับความต้องการ

Add the publishing information.

1 วิเคราะห์เรื่องที่ต้องการสืบค้นและก าหนดค าส าคัญเพื่อใช้ในการค้น การวิเคราะห์เรื่องที่ต้องการสืบค้นคือต้องรู้ว่าต้องการข้อมูลในเรื่องใดแล้วจึงก าหนดเรื่องที่ต้องการค้นเป็นค าส าคัญในการสืบค้น
2.3 ฐานข้อมูลทดลองใช้
คือฐานข้อมูลลักษณะนี้เป็นฐานข้อมูลที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศน ามาทดลองให้บริการกับผู้ใช้ก่อนก่อนที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศจะตัดสินใจซื้อหรือสมัครเป็นสมาชิกของฐานข้อมูลนั้นจริงๆทั้งนี้ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศอาจจะพิจารณาบอกรับเป็นสมาชิกโดยตรวจสอบจากการใช้บริการของผู้ใช้ว่ามีมากน้อยเพียงใดคุ้มหรือไม่หากต้องน ามาบริการจริงๆตัวอย่างฐานข้อมูลทดลองใช้ในศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ณ ปี พ.ศ. 2552เช่นOxford Journals (OUP),Medical Online,Oxford Scholarship Online เป็นต้น
2.2 ฐานข้อมูลสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา หรือ ฐานข้อมูล
คือป็นฐานข้อมูลที่ส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและโครงการThai Library Integrated System เช่าใช้ฐานข้อมูลวิชาการโดยมีส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับผิดชอบค่าใช้จ่ายเพื่อให้มหาวิทยาลัยของรัฐร่วมกันใช้บริการสืบค้นสารสนเทศภายใต้ฐานข้อมูลต่างๆ
2.1 ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศบอกรับเป็นสมาชิก

Add summary of the content of a book

คือฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศนั้นๆบอกรับหรือซื้อฐานข้อมูลนั้นมาให้บริการกับผู้ใช้โดยมีการจ ากัดระยะเวลาในการใช้นั้นคือจะสามารถใช้ฐานข้อมูลได้ในระหว่างเป็นสมาชิกของฐานข้อมูลนั้นในระยะเวลาที่ก าหนดตัวอย่างฐานข้อมูลออนไลน์ที่ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์บอกรับเป็นสมาชิกพร้อมขอบเขตเนื้อหา

Name the author.