Knowled Society
ความรู้ (Knowledge)
ประเภทของความรู้
2.Explicit Knowledge ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้
1.Tacit Knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ของแต่ละบุคคล
ความหมายของความรู้
ความเข้าในในเรื่องบางเรื่อง ซึ่งสามารถนำสิ่งนั้น
ไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ โดยอาศัยกระบวน
การที่แปรผลจากข้อมูล สารสนเทศ การศึกษา
และประสบการณ์ต่างๆ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ"ความรู้"
ความหมายของสารสนเทศ
ความหมายของข้อมูล
ยุคของสังคมความรู้ (Knowledge Society Era)
สังคมคาวมรู้ยุคที่2
เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล ประชาชนและทุกภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมเป็นเจ้าของ ลักษณะสำคัญของความรู้ยุคที่2 คือ
2.มีการถ่ายโอนความรู้ภายในสังคม
มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม
มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม
1.มีการสะสมความรู้ภายในสังคม
สังคมความรู้ยุคที่1
Knowledge Dissemination การกระจายความรู้ การวิจัยหรือความรู้
จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการสร้างพลังที่นำไปสู่ Empowerment
Knowledge Optimization การนำความรู้ออกมาเป็นกฏเกณฑ์
ระเบียบต่างๆ เช่น การทำข้อมูลต่างๆ
Knowledge Valuation การตีค่าความรู้ ว่าเมื่อใช้ความรู้นั้นแล้วมี
ความคุ้มค่าหรือไม่ แต่ไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้ สาเหตุจาก
ราคาแพงเกินไป ปฏิบัติจริงได้ยาก และไม่สร้างความยุติธรรม
Knowledge Validation การประเมินความถูกต้องของความรู้
ความรู้มีทั้งของจริงและของหลอก ดังนั้น จึงต้องมีการประเมินความ
ถูกต้องของความรู้
Knowledge Acces การเข้าถึงความรู้ทางInternet
หรือ ICT Connectivity ต่างๆ ต้องประกอบไปด้วย
ความสามารถในการเข้าถึงความรู้ ความใฝ่รู้ และใช้งานง่าย
กระบวนการจัดการความรู้ (Processes of Knowledge)
6.การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรูั
5.การเข้าถึงความรู้
4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
2.การสร้างและแสวงหาความรู้
1.การบ่งชี้ความรู้
ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้
11.ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
10.ความรับผิดชอบเป็นหน้าของของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
9.สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
8.การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
7.มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
6.มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
5.มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง
4.สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ
3.ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา
2.เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
1.ไม่จำกัดขนาดและที่ตั้ง
นิยามหรือความหมายสังคมความรู้ (Defintion Of Knowledge Society)
สังคมที่มีการเข้าถึงประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จากความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะแบะความรู้สูง