ความหมายของการวิจัย (Meaning of Research)
การจัดกระทำข้อมูล 1) Input 2) Processing 3) Output 4) การสรุปผลการวิจัยและเขียนรายงาน
ขั้นตอนในการวิจัย
7) ขั้นดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
6) การสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูล
5) การเขียนเค้าโครงการวิจัย
4) การกำหนดสมมุติฐาน
3) การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2) การกำหนดขอบเขตของปัญหา
1) เลือกหัวข้อปัญหา
5. ธรรมชาติของการวิจัย
5.5 การวิจัยมีความเชื่อมั่น (Reliability) หมายถึง การวิจัยต้องมีความคงเส้นคงวาใน การ
ด าเนินการวิจัย ที่การวิจัยจะด าเนินการซ้ ากี่ครั้งด้วยการด าเนินการวิจัยแบบเดิม ๆ ก็จะได้ผลการวิจัย
ที่คล้ายคลึงกัน
5.6 การวิจัยมีเหตุผล หมายถึง การวิจัยเป็นการด าเนินการที่จะต้องมีเหตุผลที่ชัดเจนใน การ
ด าเนินการทุกขั้นตอนเพื่อให้ได้ผลการวิจัยที่ถูกต้อง มีความน่าเชื่อถือและสามารถตรวจสอบ ได้อย่าง
ชัดเจน
5.7 การวิจัยเป็นการแก้ปัญหา หมายถึง การวิจัยเป็นการด าเนินการที่จะเริ่มต้นด้วยปัญหาที่
เกี่ยวพันกันระหว่างปัญหา(ตัวแปรตาม) กับวิธีการแก้ปัญหา(ตัวแปรต้น) แล้วจึงจะใช้วิธีการทาง
วิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการในการด าเนินการตรวจสอบการแก้ปัญหานั้น ๆ
5.8 การวิจัยต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่ หมายถึง การวิจัยในแต่ละครั้งจะต้องมีการเก็บ
รวบรวมข้อมูลใหม่เพื่อตอบค าถามตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยนั้น ๆ แต่ถ้าใช้ข้อมูลเดิมจะต้องมี
การก าหนดวัตถุประสงค์ใหม่ที่น าข้อมูลที่มีอยู่แล้วมาสังเคราะห์เพื่อให้เกิดค าตอบของปัญหาที่ชัดเจน
ตามที่ก าหนด
5.9 การวิจัยมีวิธีการที่หลากหลาย หมายถึง การวิจัยจะมีวิธีการในการด าเนินการวิจัยที่ให้
ผู้วิจัยได้เลือกใช้อย่างหลายหลายวิธีการตามความเหมาะสมของปัญหาการวิจัย วัตถุประสงค์ หรือ
การด าเนินการวิจัย
5.10 การวิจัยต้องใช้ศักยภาพของผู้วิจัย หมายถึง การวิจัยที่มีประสิทธิภาพจะต้องด าเนินการ
โดยที่ผู้วิจัยที่มีความรู้ความสามารถ และมีประสบการณ์ในการวิจัยที่จะสามารถด าเนินการวิจัยตั้งแต่
การวิเคราะห์ปัญหา การวิจัยจนกระทั่งได้ผลการวิจัยถูกต้อง และน่าเชื่อถือ
5.1 การวิจัยเป็นกระบวนการเชิงประจักษ์ หมายถึง การวิจัยเป็นกระบวนการแสวงหาค าตอบที่
ต้องใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ที่มีความถูกต้อง เชื่อถือได้ และมีความชัดเจนที่สามารถตรวจสอบได้
5.2 การวิจัยเป็นการด าเนินการที่เป็นระบบ หมายถึง การวิจัยเป็นการด าเนินการตามขั้นตอน
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) ที่มีการวางแผนอย่างมีเหตุผลและล าดับขั้นตอนที่
ชัดเจน ที่จะท าให้ได้ข้อค้นพบที่ถูกต้องและน่าเชื่อถือ
5.3 การวิจัยมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน หมายถึง การวิจัยเป็นการด าเนินการที่มีจุดมุ่งหมายใน 4
ลักษณะ คือ บรรยาย อธิบาย พยากรณ์ และควบคุม ในปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
5.4 การวิจัยมีความเที่ยงตรง (Validity) หมายถึง การวิจัย ใด ๆ จ าเป็นต้องมีความเที่ยงตรง
ใน 2 ลักษณะ ได้แก่ ความเที่ยงตรงภายใน ที่สามารถระบุได้ว่าผลการวิจัยที่ได้เกิดจากตัวแปรที่ศึกษา
เท่านั้น หรือผลการวิจัยสามารถใช้อธิบายปรากฏการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และความเที่ยงตรง
ภายนอก ที่จะสามารถน าผลการวิจัยที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ที่มีความคล้ายคลึงกันได้อย่างครอบคลุม
6. ประเภทของการวิจัย
6.3 จำแนกตามระเบียบวิธีวิจัย
6.3.1การวิจัยเชิงประวัติศาสตร
6.3.2 การวิจัยเชิงบรรยาย
6.3.2.3 การศึกษาพัฒนาการ
6.4 จำแนกตามลักษณะของวิชา หรือศาสตร์
6.5 จำแนกตามเวลาที่ใช้ในการทำวิจัย
6.2 จำแนกตามลักษณะ(ความลึก/ความกว้าง)ของข้อมูล จำแนกออกเป็น 2 ลักษณะ
6.2.2 การวิจัยเชิงคุณภาพ
6.2.1 การวิจัยเชิงปริมาณ(
6.1 จำแนกตามประโยชน์ที่ได้รับหรือเหตุผลในการวิจัย จำแนกออกเป็น 2 ลักษณะดังนี้
6.1.2 การวิจัยการนำไปใช
6.1.1 การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธ
ตัวแปรและสมมติฐาน
เมื่อผู้วิจัยสามารถเลือกหัวข้อปัญหาในการวิจัยได้แล้ว สิ่งที่ควรทราบต่อมาคือ ต้องทราบว่าหัวข้อปัญหาวิจัยนั้น ผู้วิจัยจะศึกษาตัวแปรอะไร อะไรเป็นตัวแปรอิสระ อะไรเป็นตัวแปรตาม ผู้วิจัยจะควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนอย่างไร
การเขียนคำถามวิจัย (Research Questions)
การเขียนคำถามการวิจัย จะเป็นจุดเริ่มต้นในการทำวิจัยที่มีความสำคัญ ช่วยเป็นแนวทางใน
การทำวิจัย แต่ผู้วิจัยมักจะมีปัญหาสงสัยไม่ทราบว่าจะตั้งคำถามวิจัยอย่างไร มีวิธีการเขียนที่ชัดเจน
อย่างไร เกี่ยวกับการตั้งคำถามวิจัย
4. คุณลักษณะของการวิจัย
การวิจัย เป็นวิธีการ ๆ หนึ่งที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ความ
จริง ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่มีระบบและขั้นตอนชัดเจน และมีการก าหนดจุดมุ่งหมายของการ
วิจัย ในแต่ละครั้งอย่างชัดเจนว่าต้องการอะไร ที่ผู้วิจัยจะใช้เป็นแนวทางในการแสวงหาค าตอบ เพื่อใช้
อธิบาย พยากรณ์ และควบคุมปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนั้น ๆ
3. แนวคิดพื้นฐานของการวิจัย
3.5 กฎความน่าจะเป็นของธรรมชาติ(Probabilistic Law of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่า
ในปรากฏการณ์ ใด ๆ นั้น ความรู้ความจริงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ จะเป็นผลลัพธ์ของปรากฏการณ์ ที่
มีความน่าจะเป็นในการเกิดขึ้นที่ค่อนข้างสูง
3.4 กฎองค์ประกอบหลักของธรรมชาติ(Principle Component of Nature) เป็นแนวคิดที่
ระบุว่าตัวแปรสาเหตุและตัวแปรผลที่เกิดขึ้นนั้น ๆ ไม่ได้เป็นความสัมพันธ์เชิงเดี่ยว แต่จะมีตัวแปร
อื่นๆ ที่มักจะมาเกี่ยวข้องอยู่เสมอ ๆ
3.3 กฎความสัมพันธ์ของธรรมชาติ(Associative Law of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่า ใน
การเกิดปรากฏการณ์ใด ๆ ที่แตกต่างกันนั้น จะมีความมากน้อยของตัวแปรที่เป็นสาเหตุและตัวแปร
ผลที่แตกต่างกัน
3.2 กฎความเป็นระบบของธรรมชาติ(Systematic Law of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่า
ปรากฏการณ์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นตามกฎของเหตุและผลของธรรมชาติจะมีรูปแบบของความสัมพันธ์ของ
ตัวแปรที่ค่อนข้างจะชัดเจน เพื่อที่ผู้วิจัยจะได้น ารูปแบบ ดังกล่าวไปใช้อธิบายในปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น
โดยทั่ว ๆ ไปได้
3.1 กฎเหตุและผลของธรรมชาติ(Deterministic Law of Nature) เป็นแนวคิดที่ระบุว่า
ปรากฏการณ์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นนั้นจะสามารถแสวงหาสาเหตุที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์นั้นได้เสมอ ๆ หรือ
เมื่อก าหนดสถานการณ์ใด ๆ ที่เป็นสาเหตุย่อมจะหาผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้เช่นเดียวกัน
2. จุดมุ่งหมายของการวิจัย
จุดมุ่งหมายของการวิจัยมีลักษณะที่สำคัญ
2.1 เป้าหมายของการวิจัย คือ มุ่งหาค าตอบเพื่อน ามาใช้แก้ปัญหา โดยศึกษาความสัมพันธ์
ระหว่างตัวแปรที่มีความเป็นเหตุและเป็นผลซึ่งกันและกันอย่างชัดเจน
2.2 การวิจัยเป็นการสรุปผล หลักเกณฑ์ และทฤษฏีที่ใช้ในการคาดคะเนเหตุการณ์ที่จะ
เกิดขึ้นในอนาคต หรือเป็นการศึกษาข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อที่น าผลสรุปอ้างอิงไปสู่ประชากร
2.3 การวิจัยเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล หรือปรากฏการณ์ที่สังเกตได้มาใช้ในการสรุปผล โดย
ที่ปัญหาในบางปัญหาไม่สามารถทำการวิจัยได้เนื่องจากไม่สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้
การวิจัย หมายถึง การศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์หรือทดลองอย่างมีระบบ โดยใช้อุปกรณ์หรือ
วิธีการ เพื่อค้นหาข้อเท็จจริง หรือค้นหาหลักการส าหรับน าไปใช้ตั้งกฎ ทฤษฏี หรือแนวทางปฏิบัติ