によって hathaipat kumpichid 5年前.
437
もっと見る
ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย ( Mean Deviation )
ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์(Quartile Deviation )
ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
เมื่อนำค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมายกกำลังสอง จะเรียกว่าค่าความแปรปรวน ค่าความแปรปรวน(Variance: S2, SD2)
เป็นค่าวัดการกระจายที่สำคัญทางสถิติ เพราะเป็นค่าที่ใช้บอกถึง การกระจายของข้อมูลได้ดีกว่าค่าพิสัย และค่าส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย การหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.) ในกรณีข้อมูลไม่ได้มีการแจก แจงความถี่
พิสัย (Range)
ข้อเสียของพิสัย 1) ในกรณีใช้พิสัยกับข้อมูลที่มีจำนวนมาก การวัดจะไม่แน่นอน 2) ค่าของพิสัยจะขึ้นอยู่กับขนาดของข้อมูล ถ้าข้อมูลมีจำนวนมาก พิสัยจะมาก ถ้าข้อมูลมีจำนวนน้อยพิสัยจะน้อย
การวัดค่ากลางค่ากลางของข้อมูล คือ ตัวแทนของข้อมูลทั้งหมดที่สามารถจะไป ใช้ในการวิเคราะห์ ค่ากึ่งกลางพิสัย (Mid Range) ค่ากึ่งกลางพิสัย คือค่าที่ได้จากการนำข้อมูลที่มีค่ามากที่สุดและน้อยที่สุดมาหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
การหาการกระจายของข้อมูลโดยนำ ข้อมูลที่มีค่าสูงที่สุด ลบกับข้อมูลที่มีค่าต่ำที่สุด เพื่อให้ ได้ค่าที่เป็นช่วงของการกระจาย ซึ่งสามารถบอกถึง ความกว้างของข้อมูลชุดนั้นๆ
พิสัย (R) = ค่าสูงสุด – ค่าต ่าสุด
พิสัย (R) = Xmax – Xmin
ฐานนิยม (Mode)
การหาค่าฐานนิยม(Mo) เมื่อข้อมูลไม่ได้มีการแจกแจงความถี่ ในกรณีที่ข้อมูลไม่ได้มีการแจกแจงความถี่ วิธีการหาค่าฐานนิยม(Mo) สามารถทำได้โดยการนับจำนวนข้อมูล ซึ่งข้อมูลชุดใดมีจำนวนซ้ำกันมากที่สุด ก็จะเป็นค่าฐานนิยม
เป็ นค่ากลางซึ่งจะนำมาใช้ในกรณี ที่ข้อมูลมีการซ้ำกันมากๆ จนผิดปกติ
สามารถมีค่าได้มากกว่า 1 ค่า
สามารถใช้ได้กับข้อมูลที่เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative) และข้อมูลเชิงปริมาณ(Quantitative)
เป็นค่ากลางหรือตัวแทนของข้อมูลที่สามารถ อธิบายลักษณะที่เกิดขึ้นได้ดีกว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิต และค่ามัธยฐาน
มัธยฐาน (Median)
ขั้นการหาค่ามัธยฐาน
การหาค่ามัธยฐาน เมื่อข้อมูลไม่ได้มีการแจกแจงความถี่และมี จำนวนข้อมูลเป็นจำนวนคู่
มัธยฐาน(Me) = ค่าเฉลี่ยของข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่งที่ และ n/2หรือ(n+1)/2
ในกรณีที่ต้องการหาค่ามัธยฐานของข้อมูลเมื่อข้อมูลมีจ านวนคี่ จะสามารถกำหนดตำแหน่งของข้อมูลที่มีค่ามัธยฐานได้โดยสูตร
ต่ำแหน่งของมัธยฐาน = (n+1)/2
2)ทำการหาตำเเหน่งกึ่งกลางจากข้อมูลที่ได้จากข้อที่1
1) เรียงลำดับข้อมูลจากมากไปน้อย หรือจากน้อยไปมาก
เป็นค่ากลางของข้อมูลที่ได้จากการ พิจารณาตำแหน่งของข้อมูลที่อยู่ตรงกลางโดย
ค่ามัธยฐานยังสามารถใช้เป็นตัวแทนของ ข้อมูลได้เป็นอย่างดี ในกรณีที่ข้อมูลมีการ กระจายที่ผิดปกติ
ข้อมูลต้องทำการเรียงลำดับตามปริมาณ จากมากไปน้อย หรือจากน้อยไปมากก็ได้
ค่าเฉลี่ย (Mean)
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเป็นค่ากลางหรือเป็นตัวแทน ของข้อมูลที่ดีที่สุด
1)เป็นค่าที่ไม่เอนเอียง 2)เป็นค่าที่มีความคงเส้นคงวา 3)เป็นค่าที่มีความแปรปรวนต่ำที่สุด 4)เป็นค่าที่มีประสิทธิภาพสูงสุด
คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 10 คน 71 , 83, 90, 90, 85, 71, 78, 86, 88, 88 จะพบว่าข้อมูลส่วนใหญ่ในช่วง 83 - 88 และค่าตำ่สุดและสูงสุด ของข้อมูลชุดนี้ ต่างกัน 19 คะแนน ดังนั้น ใช้ค่าเฉลี่ยคณิตเป็นค่ากลาง หรือเป็นตัวแทนชุดนี้ ได้ดี
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตจะไม่สามารถเป็นค่ากลางหรือเป็นตัวแทนที่ดีของข้อมูลได้
หลักการการหาค่าเฉลี่ย ทำได้โดยนำค่าทั้งหมดที่มีรวมกัน แล้วนำมาหารด้วย จำนวนของข้อมูล แบ่งเป็น
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลไม่แจกแจงความถี่
จะใช้กรณีที่มีข้อมูลไม่มากนักและเป็ นข้อมูลที่มาจากตัวอย่าง
โจทย์ : จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบกลางภาคของนักเรียน 10 คน ตามข้อมูลคะแนนดังนี้ 7, 6, 8, 7, 4, 9, 8, 7, 6, 5 (Arithmetic Mean) วิธีทำ (7+6+8+7+4+9+8+7+6+5)/10= 67 ตอบ 6.7
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตแบบแจกแจงความถี
ข้อมูลที่ให้มาเป็นช่วงไม่สามารถบอกได้ว่า แต่ละตัวมีค่าเท่าไหร่
การหาสมัประสิทธิ์สัมพันธ์(correlation)
t-test F-test และ ไคส แควร์(chi-square)