Categorie: Tutti - ประสบการณ์ - ทักษะ - วิชาการ - ความรู้

da Ploy Suttada mancano 6 anni

159

Knowlege Society

สังคมความรู้คือสังคมที่เน้นการใช้ทักษะและความรู้สูงในการทำงานและการเข้าถึงเครือข่ายสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ โดยแบ่งยุคของสังคมความรู้ออกเป็นสองยุคหลัก ยุคแรกนักวิชาการมีบทบาทสำคัญในการจัดการและกระจายความรู้ ส่วนยุคที่สองเป็นสังคมแบบพอเพียงที่ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์และสะสมความรู้ ความรู้สามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทหลักคือ ความรู้ที่เด่นชัดและความรู้ที่ซ่อนเร้น โดยความรู้ที่เด่นชัดสามารถถ่ายทอดได้ผ่านรายงาน ฐานข้อมูล และคู่มือ ในขณะที่ความรู้ที่ซ่อนเร้นมาจากประสบการณ์และทักษะส่วนบุคคลที่ไม่สามารถถ่ายทอดผ่านคำพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้ การจัดการความรู้เน้นที่การเข้าถึง ตีความ และแบ่งปันความรู้เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันและนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน

Knowlege Society

61120093 Suttada Thongrak

Knowlege Society

นิยามหรือความหมาย

วัตถุประสงค์

อธิบายกระบวนการจัดการความรู้ได้
อธิบายความหมายประเภทของความรู้ได้
อธิบายลักษณะสำคัญของความรู้ในแต่ละยุคได้

ประเภทรูปแบบความรู้

ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรูุแบบรูปธรรม

เน้นไปที่การเข้าถึงแหล่งความรู้ตรวจสอบตีความได้เมื่อเกิดความรู้ใหม่จะสรุปไว้เพื่ออ้างอิงให้ผู้อื่นเข้าถึงต่อไปได้

เป็นความรู้ที่เด่นชัดหรือบันทึกไว้สามารถถ่ายทอดได้

คู่มือ

ทฤษฎี

รายงาน

ฐานข้อมูล

ความรู้ที่ซ่อนเร้นหรือความรู้แบบนามธรรม
การจัดการความรู้

เน้นไปที่การจัดเวทีเพื่อให้แบ่งปันความรู้ที่อยู่ในตัวผู้ปฎิบัติเกิดการเรียนรู้ร่วมกันสร้างความรู้ใหม่นำไปใช้ปฎิบัติงานต่อไปได้

เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจไม่สามรถถ่ายทอดผ่านคำพูดหรือลายลักษณ์อักษร

การคิดเชิงวิเคราะห์

ทักษะการทำงาน

ยุคของสังคมความรู้

สังคมความรู้ยุคที่2
เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียงสมดุลบูรณาการณ์ประชาชนและทุกภาคส่วนเป็นเจ้าของร่วมกัน

มีการประยุกต์ความรู้ภายในสังคม

มีการสร้างสรรค์ความรู้ภายในสังคม

มีการถ่ายโอนความรู้ภายในสังคม

มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

สังคมความรู้ยุคที่1
ยุคนี่นักวิชาการจะมีบทบาทหลักในการจัดการความรู้เปํนสังคมที่มีพลังและอำนาจอยู่ด้วยกัน

การกระจายความรู้

การทำความทรู้ให้ง่ายในการนำความรู้

การตีความรู้

การประเมินถูกต้องของความรู้

การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ

ประเภทของความรู้4ระดับ

ความรู้ใหม่ความรู้ที่ไม่เคยมีมาก่อน
ความรู้ด้านวิชาการ
ความารู้ด้านภาษาอ่านเขียนฟังเข้าใจได้
ความรู้เกี่ยวกับสิ่งรอบตัวเรารับรู้ด้วยประสาทสัมผัส
สังคมที่มีการเข้าถึงและมีการใช้ประโยชน์จากเครื่อข่ายสารสนเทศสูงจากความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง