Categorie: Tutti - การเรียนรู้ - ความรู้ - การจัดการ - สังคม

da pimchanok ruanthong mancano 4 anni

234

บทที่1 สังคมความรู้ (khowledge society)

สังคมความรู้มีลักษณะการพัฒนาและการจัดการความรู้ที่หลากหลาย โดยมีการสร้างและแสวงหาความรู้ผ่านหลายวิธีการ การจัดการความรู้ในองค์กรเน้นการแลกเปลี่ยนและแบ่งปันความรู้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายองค์กร การเรียนรู้ควรถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของงาน นอกจากนี้ยังมีการจัดโครงสร้างความรู้ให้เป็นระบบเพื่อให้เข้าถึงได้ง่ายและสะดวก สังคมความรู้แบ่งเป็นสองยุค ยุคแรกเน้นการผลิตและการแข่งขันภายใต้กลไกตลาด ส่วนยุคที่สองเป็นสังคมที่เน้นความพอเพียง สมดุล และบูรณาการ โดยมีบทบาทของประชาชนและทุกภาคส่วนในการสะสมและถ่ายโอนความรู้ รวมถึงการสร้างสรรค์และประยุกต์ใช้ความรู้ใหม่ ลักษณะของสังคมแห่งการเรียนรู้คือไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก ประชาชนได้รับโอกาสพัฒนาและสถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวริเริ่มในการดำเนินการ มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลางในการจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน พร้อมทั้งมีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

บทที่1 สังคมความรู้ (khowledge society)

บทที่1 สังคมความรู้ (khowledge society)

4. ความรู้ (Knowledge)

4.2 ความหมายของความรู้(Definition of Knowledge)
4.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้”

5. กระบวนการจัดการความรู้(Processes of Knowledge)

7.การเรียนรู้ ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน
6.การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
5.การเข้าถึงความรู้ เป็นการทำให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก
4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้ เช่น การปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้
2.การสร้างและแสวงหาความรู้ ซึ่งสามารถทำได้หลายทาง
1.การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะทำอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมายโดยจะคัดเลือกว่าจะใช้เครื่องมืออะไร

3. ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

3. ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

3.1 ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง

3.2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก


3.3 ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)


3.4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ด าเนินการ (Key Institutions)


3.5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน


3.6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้


3.7มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมด าเนินการอย่างต่อเนื่อง


3.8 การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา


3.9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้


3.10 ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน


3.11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน

3.11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
3.10 ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
3.9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
3.8 การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
3.7มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมด าเนินการอย่างต่อเนื่อง
3.6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
3.5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน
3.4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ด าเนินการ (Key Institutions)
3.3 ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)
3.2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
3.1 ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง

2. ยุคของสังคมความรู้(Knowledge Society Era) สังคมความรู้แบ่งเป็น 2 ยุค คือ

2.2 สังคมความรู้ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุกภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกัน 1) มีการสะสมความรู้ภายในสังคม 2) มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม 3) มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม 4) มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม
2.1 สังคมความรู้ยุคที่ 1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอำนาจอยู่ด้วยกันเกิดการผลิตมีความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาด และความอยู่รอดหรือการพัฒนาความรู้ จะมีความสามารถ 5 ด้าน

1.นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้(Definition of Knowledge Society) สังคมความรู้ หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จากความรู้ที่มีบุคลากรทางงานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง

Subtopic