Categorie: Tutti - สารสนเทศ - รายงาน - วิจัย - เนื้อหา

da Supassorn Kaewbuathong mancano 5 anni

281

การเขียนรายงานวิชาการ ( Report Writing )

การเขียนรายงานวิชาการเป็นการศึกษาและเรียบเรียงข้อมูลอย่างมีระบบระเบียบ โดยสามารถทำเป็นกลุ่มหรือรายบุคคล รายงานวิชาการแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ เช่น รายงานการวิจัย ซึ่งเป็นการศึกษาค้นคว้าและสรุปผลการวิจัย, ภาคนิพนธ์ที่มีรายละเอียดลึกซึ้งมากขึ้น และวิทยานิพนธ์ที่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาระดับปริญญา รายงานวิชาการประกอบด้วยขั้นตอนที่สำคัญ ตั้งแต่การวางโครงร่างเนื้อหา การประเมิน วิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การเลือกแหล่งข้อมูลและการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีในการค้นหา รวมทั้งการกำหนดชื่อเรื่องและการจัดเรียงเนื้อหาอย่างมีระเบียบ ส่วนประกอบของรายงานประกอบด้วยคำนำที่บอกเนื้อหาและวัตถุประสงค์ ภาคผนวกที่รวมข้อมูลเพิ่มเติม สารบัญที่แสดงหัวข้อหลักและสารบัญภาพที่บอกภาพต่างๆ ในรายงาน เนื้อหาหลักจะครอบคลุมประวัติความเป็นมา การประยุกต์ใช้ และบทสรุปของแต่ละหัวข้อ ทำให้ผู้อ่านเข้าใจเนื้อหาได้อย่างชัดเจน

การเขียนรายงานวิชาการ ( Report Writing )

การเขียนรายงานวิชาการ ( Report Writing )

ส่วนประกอบของรายงาน

ภาคผนวก (Appendix)
เนื้อหา (Content)
บทสรุปในแต่ละหัวข้อ
เรื่องที่นำมาประยุกต์ใช้
โครงสร้าง/การทำงาน
องค์ประกอบ/ส่วนประกอบ
ประวัติความเป็นมา หรือ ภูมิหลัง
ความหมาย หรือนิยาม
สารบัญ/สารบาญ (Table of Content)
สารบัญตาราง

ทำเช่นเดียวกับ สารบัญภาพ

สารบัญภาพ

จะนับภาพแรก ต่อเนื่องจนถึงภาพสุดท้ายในรายงานนั้น

บอกภาพทุกภาพที่ปรากฏในรายงานว่าอยู่หน้าไหนบ้าง

สารบัญเนื้อหา

มีหัวข้อหลักๆ/ที่สำคัญๆ ของแต่ละบทปรากฎด้วย

เริ่มนับตั้งแตหน้าแรกของเนื้อหา

คำนำ (Preface)
ในตอนท้ายจะลงชื่อผู้จัดทำและ วันที่ ที่เขียนคำนำ
ส่วนใหญ่มี 2 ย่อหน้า (ย่อหน้าที่ 2 จะกล่าวความคาดหวังในการทำรายงาน)
อาจจะบอกเนื้อหา (เป็นตอน/บท) อย่างคร่าวๆ
บอกขอบเขต และวัตถุประสงค์ ของการจัดทำ
หน้าปก (Cover)
ปีการศึกษา
ชื่อสถาบัน การศึกษา
ชื่อสำนัก วิชา
ชื่อวิชา
ชื่อ-นามสกุล และเลขรหัส
ชื่อของ รายงาน

ประเภทของรายงาน

รายงานการวิจัย (Research)
เป็นรายงานผลของการค้นคว้าวิจัย ของอาจารย์นักวิชาการ นักวิจัยเป็น การศึกษาค้นคว้าลักษณะ เดียวกับการทำวิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์(Thesis/Dissertation)
ปริญญาดุษฎี บัณฑิต (Dissertation)
ปริญญา มหาบัณฑิต (Thesis)
ภาคนิพนธ์(Term paper)
มีรายละเอียดลึกซึ้งมากกว่า
มีลักษณะเช่นเดียวกับรายงาน
รายงานวิชาการ (Reports)
ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพื่อเสริมเนื้อหาที่เรียนในรายวิชาใดรายวิชาหนึ่ง ในแต่ละภาคการศึกษา
ทำเป็นกลุ่มหรือเป็นรายบุคคล
ผู้ทำรายงานอาจเลือกหัวข้อที่สนใจเอง หรือผู้สอนเป็นผู้กำหนดให้
ศึกษาค้นคว้าและนำมาเรียบเรียง อย่างมีระเบียบ

ขั้นตอนการทำรายงาน

เลือกแหล่งและทรัพยากรสารสนเทศ
คิคคำสำคัญ / คำค้น
เรียบเรียงและนำเสนอรายงาน
สืบค้นสารสนเทศในระบบมือ / ใช้ IT เป็นเครื่องมือ
ประเมิน วิเคราะห์ และสังเคราะห์สารสนเทศ
วางโครงร่างของเนื้อหา
กำหนดชื่อเรื่อง

ประโยชน์ของการทำรายงาน

เพิ่มพูนทักษะในการเขียนรายงานทางวิชาการ ซึ่งจะเป็ น พื้นฐานในการสร้างสรรค์ผลงานวิชาการอื่นๆ ต่อไป
ทำให้เกิดการรู้จักใช้ความคิดอย่างมีเหตุผล และสร้างทักษะในการแก้ไขปัญหาหนดสถานภาพของตัวแปรที่ศึกษาได้ว่าเป็นตัวแปรอิสระ หรือตัวแปรตาม
ช่วยให้ทราบข้อมูลที่แท้จริง รวมทั้งข้อบกพร่อง
ทำให้มีพัฒนาการทางวิชาการในสาขาวิชาต่างๆ
ทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ และข้อเท็จจริงใหม่ๆ

ความหมาย

สิ่งพิมพ์ที่เรียบเรียงขึ้นอย่างมีระบบระเบียบจากการศึกษาค้นคว้า การทดลอง การสังเกตการณ์ การสำรวจ การสัมภาษณ์ เป็นต้น