Categorie: Tutti - การพัฒนา - ชุมชน - ความรู้ - การจัดการ

da thanawat pimiuk mancano 6 anni

199

สังคมความรู้

สังคมความรู้หมายถึงชุมชนที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง โดยบุคลากรมีทักษะความรู้สูง สังคมความรู้แบ่งออกเป็นสองยุค ยุคแรกเน้นพลังและการแข่งขัน ส่วนยุคที่สองมุ่งเน้นความพอเพียงและบูรณาการ ความรู้แบ่งออกเป็นสองประเภทหลัก ได้แก่ความรู้เด่นชัดที่สามารถรวบรวมและถ่ายทอดได้ เช่น ผ่านฐานข้อมูลและรายงาน และความรู้ซ่อนเร้นที่เกิดจากประสบการณ์และความเชี่ยวชาญของแต่ละบุคคล สังคมความรู้ยังมีลักษณะของการเรียนรู้ที่ไม่จำกัดสถานที่และขนาด การเรียนรู้เป็นปัจจัยหลักที่สนับสนุนการพัฒนา บุคคลและชุมชนร่วมกันรับผิดชอบในการสร้างสรรค์และแสวงหาความรู้ โดยมีสถาบันทางสังคมและกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลางในการจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน นอกจากนี้ยังมีการพัฒนานวัตกรรมและการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งช่วยเสริมสร้างความรู้และความสามารถของชุมชนอย่างต่อเนื่อง

สังคมความรู้

สังคมความรู้(knowledge socity)

สังคมความรู้ หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จากความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะความรู้สูง

ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้ 1 ไม่จ ากัดขนาดและสถานที่ตั้ง 2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก 3 ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals) 4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ด าเนินการ (Key Institutions) 5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน 6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้ 7มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมด าเนินการอย่างต่อเนื่อง 8 การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา 9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้ 10 ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน 11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน

ความรู็

Tacit Knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น เป็น ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญหรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคลในการท าความเข้าใจ ในสิ่งต่างๆ เป็นความรู้ที่สามารถอธิบายได้และไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นค าพูดหรือลายลักษณ์ อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการท างาน งานฝีมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห์ บางครั้ง จึงเรียกว่าเป็นความร฿้แบบนามธรรม

ยุคของสังคมความรู้

สังคมความรู้ยุคที่2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ มีความเป็นอิสระและพึึ่งตนเอง
สังคมความรู้ยุคที่1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอำนาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิต มีความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาด และความอยู่รอด

กระบวนการจัดการความรู้

การเข้าถึงความรู้
การประมวลและกลั่นกรองความรู้
การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
การสร้างและแสวงหาความรู้
การบ่งชี้ความรู้