Kategóriák: Minden - องค์กร - สารสนเทศ - ประสบการณ์ - ความรู้

a อธิการ เห็นพร้อม 5 éve

202

สังคมความรู้ (KnowleSociety)

การจัดการความรู้เป็นกระบวนการสำคัญที่ช่วยให้องค์กรสามารถบรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประเภทของความรู้สามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทหลักคือ ความรู้ที่เด่นชัดและความรู้ที่ซ่อนเร้น ความรู้ที่เด่นชัดเป็นความรู้ที่สามารถรวบรวมและถ่ายทอดได้โดยผ่านวิธีการต่างๆ ส่วนความรู้ที่ซ่อนเร้นเป็นความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคลและได้จากประสบการณ์ ความรู้มีความหมายที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลและสารสนเทศซึ่งบางครั้งไม่สามารถแยกออกจากกันได้ กระบวนการจัดการความรู้เริ่มต้นจากการบ่งชี้ความรู้ที่มีอยู่และความรู้ที่จำเป็นในการบรรลุเป้าหมายขององค์กร จากนั้นต้องมีการจัดความรู้ให้เป็นระบบโดยการวางโครงสร้างและเตรียมพร้อมสำหรับการเก็บความรู้อย่างเป็นระบบ ข้อมูลที่มีคุณค่าและสารสนเทศช่วยให้กระบวนการจัดการความรู้สามารถนำไปใช้ในการตัดสินใจและการกระทำต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สังคมความรู้
(KnowleSociety)

สังคมความรู้ (KnowleSociety)

2. ยุคของสังคมความรู้(Knowledge Society Era) สังคมความรู้แบ่งเป็น 2 ยุค

2.2 สังคมความรู้ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุก ภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ และเป็นผู้ใช้ความรู้ให้เป็นพลัง มีความเป็นอิสระ และ พึ่งตนเอง นักวิชาการ นักวิชาชีพมีบทบาทเป็น Knowledge Broker ทำให้เกิดเป็นวิจัยแบบบูรณา
1Knowledge Society 3 การที่ผลงานวิจัยย่อย ๆ หลาย ๆงานวิจัยรวมตัวกันเพื่อแก้ปัญหาวิจัยย่อยและปัญหาใหญ่แบบครบ วงจรวัฎจักรของความรู้ในสังคม ลักษณะส าคัญของสังคมความรู้ยุคที่ 2 คือ 1) มีการสะสมความรู้ภายในสังคม 2) มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม 3) มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม 4) มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม
2.1 สังคมความรู้ยุคที่ 1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอ านาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิต มี ความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาด และความอยู่รอด มีความเป็นมืออาชีพการจัดการความรู้ หรือการ พัฒนาความรู้ (Knowledge Management) เป็นอย่างมากึ่งบุคคลเหล่านี้จะมีความสามารถ 5 ด้านดังนี้

1. นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้(Definition of Knowledge Society)

สังคมความรู้ หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จาก ความรู้ที่มีบุคลากรท างานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง อีกความหมายหนึ่งได้อธิบายถึงสังความรู้ว่าเป็นกระบวนการทางสังคมที่เกื้อหนุนส่งเสริมให้ บุคคลหรือสมาชิกในชุมชนหรือสังคมเกิดการเรียนรู้โดยผ่านสื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ แหล่งการ เรียนรู้ องค์ความรู้ต่าง ๆ จนสามารถสร้างความรู้ สร้างทักษะ มีระบบการจัดการความรู้และระบบ การเรียนรู้ที่ดี มีการถ่ายทอดความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันทุกภาคส่วนในสังคม ท าให้เกิดพลัง 1Knowledge Society 2 สร้างสรรค์ และใช้ความรู้เป็นเครื่องมือในการเลือกและตัดสินใจเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาอย่าง เหมาะสมทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง

3. ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

3.11 ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
3.10 ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
3.9 สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
3.8 การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
3.7มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมด าเนินการอย่างต่อเนื่อง
3.6 มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
3.5 มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน
3.4 สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ด าเนินการ (Key Institutions)
3.3 ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)
3.2 เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
3.1 ไม่จ ากัดขนาดและสถานที่ตั้ง

5. กระบวนการจัดการความรู้(Processes of Knowledge)

5.การเข้าถึงความรู้ เป็นการท าให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก โดย การใช้พวกระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ(IT) หรือการประชาสัมพันธ์บน Web board
4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้ เช่น การปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน ใช้ ภาษาเดียวกัน และปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์และเหมาะสม
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมส าหรับการเก็บ ความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อการเรียกใช้งานได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องในอนาคต
2.การสร้างและแสวงหาความรู้ ซึ่งสามารถท าได้หลายทาง เช่น การสร้างความรู้ใหม่ แสวงหาความรู้จากภายนอก รักษาความรู้เก่า ก าจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว
1.การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะท าอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย โดยจะคัดเลือก ว่าจะใช้เครื่องมืออะไร และขณะนี้เรามีความรู้อะไรบ้าง อยู่ในรูปแบบใด อยู่ที่ใคร โดยอาจจะ พิจารณาว่าองค์กรมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าหมายคืออะไร

4. ความรู้ (Knowledge)

ประเภทรูปแบบความรู้(Type of Knowledge) ประเภทของความรู้มีหลายลักษณะทั้งความรู้จากข้อเท็จจริง ความรู้จากประสบการณ์ ความรู้ที่ได้รับถ่ายทอดมาหรือความเชื่อ ความรู้ส่วนบุคคล (Individual knowledge) และความรู้ องค์กร (Organizational knowledge) จากลักษณะต่างๆ ดังกล่าวสามารถแบ่งความรู้ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่topic
Subtopic
2) Explicit Knowledge ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถ รวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ
1) Tacit Knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น เป็น ความรู้ที่ได้จากประสบการณ
4.2 ความหมายของความรู้(Definition of Knowledge) Davenport and Prusak (1998 : 5) กล่าวว่า ความรู้ หมายถึง ส่วนผสมที่เกิดจาก ประสบการณ์การท างาน และประสบการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ที่พร้อมจะถูกน าไปใช้เพื่อการตัดสินใจและ การกระท าต่างๆ
4.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้” ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออก จากกันได้ ซึ่งค าทั้ง 3 ค ามีนักวิชาการหลายๆ ท่านได้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ไว้ดังนี
สารสนเทศ มาจากภาษาอังกฤษค าว่า “Information” ซึ่งมีผู้ได้ให้นิยามไว้ต่างๆ ดังนี้ สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ (2553) กล่าวว่า สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่มีคุณค่าและ คุณประโยชน์ ทั้งในเชิงจ านวนและคุณภาพ เช่น ข้อมูลความเป็นจริงในการปฏิบัติงาน เป็นต้น
4.1.1 ความหมายของข้อมูล (Data)