a กฤษณะ เกตุวิชิต 4 éve
320
Még több ilyen
ประเภทของความรู้มีหลายลักษณะทั้งความรู้จากข้อเท็จจริง ความรู้จากประสบการณ์ ความรู้ที่ได้รับถ่ายทอดมาหรือความเชื่อ ความรู้ส่วนบุคคล (Individual knowledge) และความรู้ องค์กร (Organizational knowledge) จากลักษณะต่างๆ ดังกล่าวสามารถแบ่งความร
ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถ รวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ เช่น ฐานข้อมูล ระบบผู้เชี่ยวชาญ รายงาน ทฤษฎี คู่มือต่างๆ ในบางครั้งเรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรม โดยที่ความรู้ทั้ง 2 ประเภทนี้มีวิธีการจัดการที่แตกต่างกัน การจัดการ “ความรู้เด่นชัด” จะเน้นไปที่การเข้าถึงแหล่งความรู้ ตรวจสอบ และตีความได้ เมื่อน าไปใช้แล้วเกิดความรู้ใหม่ ก็น ามา สรุปไว้ เพื่อใช้อ้างอิง หรือให้ผู้อื่นเข้าถึงได้ต่อไป ส่วนการจัดการ “ความรู้ที่ซ่อนเร้น” นั้นจะเน้นไปที่ การจัดเวทีเพื่อให้มีการแบ่งปันความรู้ที่อยู่ในตัวผู้ปฏิบัติ ท าให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน อันน าไปสู่การ สร้างความรู้ใหม่ ที่แต่ละคนสามารถน าไปใช้ในการปฏิบัติงานได้ต่อไป นอกจากนั้น มนตรี จุฬาวัฒนทล (2537 อ้างถึงใน น้ าทิพย์ วิภาวิน, 2547 : 4) ได้แบ่ง ประเภทของความรู้ออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ 1) ความรู้เกี่ยวกับสิ่งรอบตัวเรา ซึ่งสามารถรับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้งการมองเห็น ได้ กลิ่น ได้ยิน และได้ลิ้มรส 2) ความรู้ด้านภาษา ซึ่งจะท าให้อ่านและเขียนหนังสือได้ ฟังเข้าใจ ดูโทรทัศน์รู้เรื่อง ตลอดจนการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ตกทอดกันมา 3) ความรู้ด้านวิชาการ เป็นความรู้ที่เกิดจากการศึกษาเล่าเรียน เช่น สามารถค านวณได้ วินิจฉัยได้ รู้จักกฏเกณฑ์ต่างๆ เป็นต้น ซึ่งความรู้ประเภทนี้เกิดจากการเรียนรู้จากครู อาจารย์ เอกสาร ต าราทางวิชาการต่างๆ 4) ความรู้ใหม่ คือ ความรู้ที่ไม่เคยมีมาก่อน เป็นความรู้ที่เกิดจากการค้นคว้าวิจัย การ คิดค้นกระบวนการใหม่ๆ เพื่อให้เกิดการพัฒนา วิจารณ์ พานิช (2546) ยังได้กล่าวถึงค าที่เกี่ยวข้องกับความรู้มีอยู่มากมาย ได้แก่ ประสบการณ์ (Experience) ซึ่งเป็นทั้งตัวความรู้เองและเป็นบ่อเกิดแห่งความรู้ ความเป็นจริง (Truth) ความรู้ต้องเชื่อมโยงกับความเป็นจริง และความเป็นจริงเป็นบ่อเกิดของความรู้ ความซับซ้อน (Complexity) คนมีความรู้จะมีความเข้าใจความซับซ้อน และความเข้าใจความซับซ้อนก็จะช่วยให้เกิด 1Knowledge Society 7 ความรู้ การตัดสินหรือวินิจฉัย (Judgment) คนเราใช้ความรู้เป็นเครื่องตัดสินสถานการณ์ใหม่โดยการ เปรียบเทียบกับความรู้ที่มีอยู่แล้ว และใช้การตัดสินตรวจสอบความพอเพียงของความรู้ที่ตนมีอยู่แล้ว และเพิ่มเติมความรู้จากประสบการณ์ใหม่ สามัญส านึก (Common sense) คนมีความรู้จะมี ความสามารถใช้สามัญส านึกในการตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ ได้ดี คุณค่าและความเชื่อ (Value & Belief) เป็นส่วนประกอบที่แฝงอยู่ในความรู้จนเป็นเนื้อเดียวกัน ถ้ามีคุณค่าหรือความเชื่อพื้นฐานต่างกันจะ พัฒนาความรู้จากเหตุการณ์เดียวกัน ออกมาเป็นความรู้คนละชุด และแตกต่างกันได้อย่างมาก จากประเภทของความรู้ข้างต้น สามารถน ามาเปรียบเทียบได้กับภูเขาน้ าแข็ง (Iceberg) โดยน้ าแข็งส่วนที่อยู่เหนือผิวน้ าจะมองเห็นได้ง่ายจะเปรียบเสมือนความรู้ที่เด่นชัด (Explicit Knowledge) และน้ าแข็งส่วนที่อยู่ใต้น้ าที่มองไม่เห็นและมีขนาดใหญ่กว่าจะเป็นเสมือนความรู้ที่ซ่อน เร้น (Tacit Knowledge) ดังภาพ (ภราดร จินดาวงศ์, 2549)
ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น เป็น ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญหรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคลในการท าความเข้าใจ ในสิ่งต่างๆ เป็นความรู้ที่สามารถอธิบายได้และไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นค าพูดหรือลายลักษณ์ อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการท างาน งานฝีมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห์ บางครั้ง จึงเรียกว่าเป็น ความรู้แบบนามธรรม
4.2 ความหมายของความรู้(Definition of Knowledge) Davenport and Prusak (1998 : 5) กล่าวว่า ความรู้ หมายถึง ส่วนผสมที่เกิดจาก ประสบการณ์การท างาน และประสบการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ที่พร้อมจะถูกน าไปใช้เพื่อการตัดสินใจและ การกระท าต่างๆ Haraldsson (2003) กล่าวว่า ความรู้ คือ การไหลเวียนของความรู้สึก ปฏิกริยาตอบกลับ การตัดสินใจ สารสนเทศและกระบวนการเรียนรู้ นอกจากนั้นความรู้ดังกล่าวยังสามารถสูญหายและ เกิดการทดแทนขึ้นมาใหม่ได้ ภราดร จินดาวงศ์ (2549 : 4) กล่าวว่า ความรู้ คือ สิ่งที่ได้มาโดยการศึกษา ประสบการณ์ ทักษะ การอบรม การดูงาน หรืออาจเกิดจากการค้นหา ค้นคว้า ค้นพบ ได้เห็น ได้ฟังของแต่ละบุคคล เมื่อเวลาผ่านไปความรู้จะเกิดการสะสมเพิ่มพูนมากขึ้น วิศิณ ชูประยูร (2545 : 29) กล่าวว่า ความรู้ หมายถึงข้อเท็จจริงและ/หรือสารสนเทศทั้งใน ด้านวิทยาศาสตร์ หลักการ กฎธรรมชาติ ความช านาญเฉพาะทางและกระบวนการปฏิสัมพันธ์ใน สังคมเพื่อรู้เขารู้เรา อันจะน าไปสู่การพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ทักษะทางเทคนิค และทักษะทางสังคม พรธิดา วิเชียรปัญญา (2547) กล่าวว่า ความรู้ คือกระบวนการขัดเกลา เลือกใช้ และบูรณา การ การใช้สารสนเทศเหล่านั้นจนเกิดความรู้ใหม่ อลาวี และลีเดอร์ (Alavi and Leidner ,2001 : 109) กล่าวว่า ความรู้คือสิ่งที่พิสูจน์ให้เห็น ว่าเป็นการเพิ่มขีดความสามารถที่จะน ามาซึ่งประสิทธิภาพที่ดีกว่า ชาร์ราชและยูโซโร(Sharratt and Usoro,2003:188) กล่าวว่า ความรู้คือความสัมพันธ์ เกี่ยวข้องโดยตรงระหว่างความเข้าใจ ตลอดจนการให้ข้อมูลข่าวสารที่ชัด ความรู้ คือ กรอบของการประสมประสานระหว่างสถานการณ์ ค่านิยม ความรู้ในบริบทและ ความรู้แจ้งอย่างชัดเจน ซึ่งโดยทั่วไปความรู้จะอยู่ใกล้ชิดกับกิจกรรมมากกว่าข้อมูลและสารสนเทศท า ให้เกิดความตระหนักถึงความส าคัญของความรู้ (ชัชวาลย์ วงษ์ประเสริฐ,2548: 17) จากค านิยามต่างๆ ข้างต้น สรุปได้ว่า ความรู้ หมายถึง ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือสิ่ง บางสิ่ง ซึ่งอาจจะรวมไปถึงความสามารถในการน าสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ โดยอาศัย 1Knowledge Society 6 กระบวนการที่แปรผลมาจากข้อมูล สารสนเทศ การศึกษา ประสบการณ์ต่างๆ ที่สะสมในอดีต และ สามารถเพิ่มขึ้นได้อย่างไม่จ ากัดในอนาคต
4.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้” ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออก จากกันได้ ซึ่งค าทั้ง 3 ค ามีนักวิชาการหลายๆ ท่านได้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ไว้ดังนี้
สารสนเทศ มาจากภาษาอังกฤษค าว่า “Information” ซึ่งมีผู้ได้ให้นิยามไว้ต่างๆ ดังนี้ สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ (2553) กล่าวว่า สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่มีคุณค่าและ คุณประโยชน์ ทั้งในเชิงจ านวนและคุณภาพ เช่น ข้อมูลความเป็นจริงในการปฏิบัติงาน เป็นต้น มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2549) กล่าวว่า สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ถูก มนุษย์วิเคราะห์และตีความแล้ว มีคุณค่าสูงกว่าข้อมูล เนื่องจากสามารถสื่อความหมายได้โดยมีความ ครอบคลุมที่กว้างกว่า คณาจารย์ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา (2544) กล่าวว่า สารสนเทศ หรือ สารนิเทศ หมายถึง แก่นหรือเนื้อหาที่ส าคัญ ซึ่งได้มีการแจงแสดงออกให้ ทราบ อาจเป็นข้อมูลหรือข้อเท็จจริง ข่าวสาร ความรู้เรื่องราวทั่วไป ความรู้ทางวิชาการหรือศาสตร์ ความรู้สึก ความคิด ประสบการณ์ ซึ่งผ่านการกลั่นกรอง ประมวล เรียบเรียงและจัดเก็บโดยบันทึกสื่อ ชนิดต่างๆ มีหลากหลายรูปแบบ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดสารให้ผู้อื่นทราบและใช้ประโยชน์ต่อไป Turban (2006) กล่าวว่า สารสนเทศ คือข้อมูลที่ผ่านการจัดการและตีความหมายแล้วมี คุณค่าต่อผู้รับเพื่อการน าไปใช้งาน
เช่น เกรดเฉลี่ยสะสมของนักศึกษา เป็นต้น 1Knowledge Society 5 Orna (1998) กล่าวว่า สารสนเทศ คือ การถ่ายทอดความรู้ของมนุษย์เพื่อการสื่อสารไป ยังบุคคลอื่นทั้งในรูปแบบโสตวัสดุและทัศนวัสดุ สิ่งตีพิมพ์ สุนทรพจน์ หนังสือ บทความ รายงานการ ประชุม หรือฐานข้อมูล จากค านิยามข้างต้น สามารถสรุปความหมายของสารสนเทศ ได้ดังนี้สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถน ามาใช้ประโยชน์ได้ โดยสารสนเทศนั้นบันทึกไว้ในรูปแบบของวัสดุตีพิมพ์ได้แก่ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์นิตยสาร แผ่นพับ จุลสาร เอกสารจดหมายเหตุและวัสดุไม่ตีพิมพ์ได้แก่ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น ภาพยนตร์ วีดิทัศน์แผ่นเสียง เทปโทรทัศน์ข้อมูลจากฐานข้อมูลและจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต รวมถึงวิชา ความรู้ซึ่งคือข้อเท็จจริงที่มีการค้นคว้าได้หลักฐานหรือเหตุผลชัดเจน และจัดเข้าเป็นระเบียบแล้ว สามารถน าไปใช้ประโยชน์ได
Ackoff (1989) กล่าวว่า ข้อมูล คือ สัญลักษณ์ที่ยังไม่ได้แปรความ พรธิดา วิเชียรปัญญา (2547) กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลดิบที่เกิดจากการท างาน ประจ าวัน ซึ่งถือว่าเป็นข้อมูลในระดับปฏิบัติการ วิจารณ์ พานิช (2546) กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลเชิงบรรยาย หรือข้อมูลเชิง ปริมาณเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง หรือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง 1Knowledge Society 4 ประสิทธิ์ ทีฆพุฒิ และครรชิต มาลัยวงศ์ (2549 : 35-37) กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง บันทึกที่แสดงความเป็นไปหรือเป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์หนึ่งๆ หรือเกี่ยวกับ คน สิ่งของ หรือ เรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งข้อมูลสามารถแบ่งเป็น 5 ประเภท ดังนี้ 1) ข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจ านวน (Numeric Data) เป็นข้อมูลตัวเลข ที่สามารถ น ามาบวก ลบ คูณ หารได้ เช่น ข้อมูลบัญชีการเงิน ราคาสินค้า เป็นต้น 2) ข้อมูลตัวอักษรหรือข้อมูลที่เป็นข้อความ (Text Data) เป็นข้อมูลที่ไม่สามารถน ามา ค านวณได้ เช่น ชื่อคน ชื่อบริษัท เป็นต้น 3) ข้อมูลกราฟิก (Graphical Data) เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างภาพกราฟิก เช่น ข้อมูลภาพโต๊ะ ภาพเก้าอี้ ภาพอาคาร เป็นต้น 4) ข้อมูลภาพลักษณ์ (Image Data) เป็นข้อมูลที่เกิดจากการถ่ายภาพกล้องดิจิตอล หรือ การสแกนเอกสารด้วยเครื่องสแกนเนอร์ ข้อมูลประเภทนี้จัดเก็บเป็นจุดภาพและไม่สามารถน าไป ค านวณได้ เช่น ภาพใบหน้าของพนักแต่ละคนในบริษัท เป็นต้น 5) ข้อมูลเสียง (Voice Data) คือ เสียงต่างๆ ได้แก่ เสียงสั่งงานคอมพิวเตอร์ หรือ เสียงพูด เสียงที่บันทึกไว้ฟัง เป็นต้น จากนิยามข้างต้น สรุปได้ว่า ข้อมูล คือ กลุ่มของสัญลักษณ์ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ข้อความ ภาพ และเสียงที่ยังไม่ผ่านกระบวนการประมวลผล วิเคราะห์หรือสังเคราะห์เพื่อน าไปใช้ประโยชน
กระบวนการที่ช่วยให้เกิดการพัฒนาการของความรู้ หรือการจัดการกับความรู้ที่จะเกิดขึ้น ภายในองค์กร
ควรท าให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน เช่น การเรียนรู้จากสร้างองค์ความรู้การนำความรู้ไปใช้ให้เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ๆ และน าความรู้ที่ได้ไปหมุนเวียนต่อไป อย่างต่อเนื่อง
ท าได้หลายวิธีการซึ่งจะแบ่งได้ สองกรณีได้แก่ Explicit Knowledge อาจจะจัดท าเป็นเอกสาร ฐานความรู้ และเทคโนโลยี สารสนเทศต่างๆ หรือ Tacit Knowledge จัดท าเป็นระบบ ทีมข้ามสายงาน กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ และนวัตกรรม ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ระบบพี่เลี้ยง การสับเปลี่ยนงาน การยืมตัว และเวทีการ แลกเปลี่ยนความรู้ เป็นต้น
เป็นการท าให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก โดย การใช้พวกระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ(IT) หรือการประชาสัมพันธ์บน Web board
เช่น การปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน ใช้ ภาษาเดียวกัน และปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์และเหมาะสม
เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมส าหรับการเก็บ ความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อการเรียกใช้งานได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องในอนาคต
ซึ่งสามารถท าได้หลายทาง เช่น การสร้างความรู้ใหม่ แสวงหาความรู้จากภายนอก รักษาความรู้เก่า ก าจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว
เป็นการพิจารณาว่าจะท าอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย โดยจะคัดเลือก ว่าจะใช้เครื่องมืออะไร และขณะนี้เรามีความรู้อะไรบ้าง อยู่ในรูปแบบใด อยู่ที่ใคร โดยอาจจะ พิจารณาว่าองค์กรมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าหมายคืออะไร
สังคมความรู้ หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จาก ความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะและความรู้สูงความหมายหนึ่งได้อธิบายถึงสังความรู้ว่าเป็นกระบวนการทางสังคมที่เกื้อหนุนส่งเสริมให้ บุคคลหรือสมาชิกในชุมชนหรือสังคมเกิดการเรียนรู้โดยผ่านสื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ แหล่งการ เรียนรู้ องค์ความรู้ต่าง ๆ จนสามารถสร้างความรู้ สร้างทักษะ มีระบบการจัดการความรู้และระบบ การเรียนรู้ที่ดี มีการถ่ายทอดความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันทุกภาคส่วนในสังคม ท าให้เกิดพลังสร้างสรรค์ และใช้ความรู้เป็นเครื่องมือในการเลือกและตัดสินใจเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาอย่าง เหมาะสมทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
2.2 สังคมความรู้ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุก ภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ และเป็นผู้ใช้ความรู้ให้เป็นพลัง มีความเป็นอิสระ และ พึ่งตนเอง นักวิชาการ นักวิชาชีพมีบทบาทเป็น Knowledge Broker ท าให้เกิดเป็นวิจัยแบบบูรณาการที่ผลงานวิจัยย่อย ๆ หลาย ๆงานวิจัยรวมตัวกันเพื่อแก้ปัญหาวิจัยย่อยและปัญหาใหญ่แบบครบ วงจรวัฎจักรของความรู้ในสังคม ลักษณะส าคัญของสังคมความรู้ยุคที่ 2
4) มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม
3) มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม
2) มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม
1) มีการสะสมความรู้ภายในสังคม
สังคมความรู้ยุคที่ 1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอ านาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิต มี ความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาด และความอยู่รอด ในยุคนี้นักวิชาการหรือนักวิชาชีพ จะมี บทบาทหลักในการจัดการความรู้ ใช้พลังของความรู้ มีความเป็นมืออาชีพการจัดการความรู้ หรือการ พัฒนาความรู้ (Knowledge Management) เป็นอย่างมาก ซึ่งบุคคลเหล่านี้จะมีความสามารถ 5 ด้าน
5) Knowledge Dissemination
คือ การกระจายความรู้ ปัจจุบันความรู้เป็นสมบัติ สาธารณะที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ อยู่ที่ความสามารถของแต่ละคนที่จะเข้าถึงความรู้การวิจัยหรือ ความรู้จึงเป็นเครื่องมือส าคัญในการสร้างพลังที่น าไปสู่ Empowerment ซึ่งความรู้ไม่ได้มีไว้ใช้เพียง อย่างเดียว แต่ความรู้น ามาสร้างเป็นพลังได้
4) Knowledge Optimization
คือ การท าความรู้ให้ง่ายที่จะใช้ การนำความรู้ออกมา เป็นกฎเกณฑ์ ระเบียบต่าง ๆ ต้องมีพื้นฐานมาจากความรู้ เช่น การทำคู่มือต่าง ๆ
3) Knowledge Valuation
คือ การตีค่า การตีความรู้ ว่าเมื่อมีการใช้ความรู้นั้นแล้วมี ความคุ้มค่าหรือไม่ ซึ่งในการตีค่าความรู้ที่มีหลักฐานถูกต้องตามหลักวิชาการแต่ไม่เหมาะสมที่จะ นำมาใช้โดยส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจาก
1)ความ ไม่คุ้มค่า หรือราคาแพงเกินกว่าผลประโยชน์
2) ใช้ ส าหรับสิ่งที่ไม่จ าเป็น หรือฟุ่มเฟือย
3)ปฏิบัติจริงได้ยาก ขาดสิ่งจ าเป็น
4)ขัดกับความคิด ความเชื่อ หรือวัฒนธรรม
5)ไม่สร้างความยุติธรรม และศักดิ์ศรีมนุษย
2) Knowledge Validation
คือ การประเมินความถูกต้องของความรู้ ความรู้มีทั้งของ จริงและของหลอก ดังนั้น จึงต้องมีการประเมินความถูกต้องของความรู้ ซึ่งการวิจัยนับว่าเป็น เครื่องมือส าคัญที่จะบอกว่าความรู้นั้นถูกต้องหรือไม
1) Knowledge Access
คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ ได้แก่ การเข้าถึงความรู้ ทาง Internet หรือ ICT Connectivity ต่าง ๆ ต้องประกอบไปด้วยความสามารถในการเข้าถึงความรู้ ความใฝ่รู้ เวลาในการหาความรู้ และการท าความรู้ให้ใช้ได้ง่าย