Kategóriák: Minden - สมมติฐาน - การวิจัย - เครื่องมือ - ตัวแปร

a Nitchakarn Phichaikarn 5 éve

252

บทที่ 3 ความรู้พื้นฐานของการวิจัย (Foundation of Research)

การวิจัยเป็นกระบวนการสำคัญในการแสวงหาความรู้ใหม่และพัฒนาทฤษฎีที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ หลักการสำคัญของการวิจัยเริ่มต้นจากการเลือกหัวข้อปัญหา กำหนดขอบเขตของปัญหา และศึกษาเอกสารหรือผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จากนั้นจึงสร้างสมมติฐานที่สามารถทดสอบได้ด้วยวิธีทางสถิติและกำหนดตัวแปรที่เกี่ยวข้อง การเขียนเค้าโครงการวิจัยเป็นขั้นตอนต่อไปที่ต้องวางแผนอย่างละเอียดเพื่อให้การเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นไปอย่างราบรื่น การวิจัยสามารถแบ่งออกได้เป็นการวิจัยพื้นฐานที่มุ่งหาความรู้ใหม่ และการวิจัยประยุกต์ที่นำผลการวิจัยไปใช้แก้ปัญหาเฉพาะ การกำหนดสมมติฐานที่ดีนั้นต้องสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัยและสามารถตอบคำถามที่ตั้งไว้ได้ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลสามารถใช้เครื่องมือต่างๆ ที่สร้างขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลที่มีความแม่นยำและน่าเชื่อถือ ข้อมูลที่ได้จากการวิจัยจะถูกนำมาวิเคราะห์เพื่อพัฒนาข้อสรุป หลักเกณฑ์ และทฤษฎีใหม่ๆ ที่สามารถนำไปใช้อ้างอิงในงานวิจัยอื่นๆ ต่อไป

บทที่ 3                       ความรู้พื้นฐานของการวิจัย
(Foundation of Research)

บทที่ 3 ความรู้พื้นฐานของการวิจัย (Foundation of Research)

5. ธรรมชาติของการวิจัย

5.10 การวิจัยต้องใช้ศักยภาพของผู้วิจัย
5.9 การวิจัยมีวิธีการที่หลากหลาย
5.8 การวิจัยต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่
5.7 การวิจัยเป็นการแก้ปัญหา
5.6 การวิจัยมีเหตุผล
5.5 การวิจัยมีความเชื่อมั่น
5.4 การวิจัยมีความเที่ยงตรง
5.3 การวิจัยมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน
5.2 การวิจัยเป็นการดำเนินการที่เป็นระบบ
5.1 การวิจัยเป็นกระบวนการเชิงประจักษ์

4. คุณลักษณะของการวิจัย

4.11 การวิจัย จะต้องมีการจดบันทึกข้อมูล
4.10 การวิจัย เป็นกิจกรรมที่จะต้องดำเนินการด้วยความอดทน
4.9 งานวิจัย จะต้องเป็นการดำเนินการแสวงหาคำตอบที่นำมาใช้ตอบคำถาม
4.8 การวิจัย จะต้องกำหนดวัตถุประสงค์ โดยใช้เหตุผลตามหลักความเป็นจริง
4.7 การวิจัย จะต้องเป็นการดำเนินการโดยใช้ความรู้ความชำนาญของผู้วิจัย
4.6 การวิจัยจะต้องมีระบบ มีวิธีการ แบบแผนการวิจัย และการวิเคราะห์ที่ถูกต้อง
4.5 การวิจัย เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่จากแหล่งปฐมภูมิ
4.4 การวิจัยจำเป็นจะต้องมีกระบวนการสังเกตที่ถูกต้อง
4.3 การวิจัย มีแนวคิดพื้นฐานของการได้รับข้อมูลที่สรุปจากประสบการณ์ที่ได้จากการสังเกต
4.2 การวิจัย เป็นการพัฒนาข้อสรุป หลักเกณฑ์และทฤษฎีที่สามารถนำไปใช้อ้างอิง
4.1 การวิจัย เป็นการแก้ปัญหาที่ช่วยให้สามารถบรรลุเป้าหมายสุดท้าย

3. แนวคิดพื้นฐานของการวิจัย

3.5 กฎความน่าจะเป็นของธรรมชาติ
3.4 กฎองค์ประกอบหลักของธรรมชาติ
3.3 กฎความสัมพันธ์ของธรรมชาติ
3.2 กฎความเป็นระบบของธรรมชาติ
3.1 กฎเหตุและผลของธรรมชาติ

2. จุดมุ่งหมายของการวิจัย

2.3 การวิจัยเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล
2.2 การวิจัยเป็นการสรุปผล หลักเกณฑ์ และทฤษฏี
2.1 เป้าหมายของการวิจัย คือ มุ่งหาคำตอบเพื่อนำมาใช้แก้ปัญหา

1. ความหมายของการวิจัย (Meaning of Research)

การวิจัย เป็นกระบวนการค้นหาข้อเท็จจริง หรือปรากฏการณ์ทางธรรมชาติอย่างมีระบบระเบียบ และมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจนเพื่อให้ได้ความรู้ที่เชื่อถือได
การวิจัย หมายถึง การแสวงหาความรู้ความจริงด้วยวิธีการที่มีระบบ มีความเชื่อถือโดยใช้ระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ได้ความรู้ใหม่
การวิจัย หมายถึง การศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์หรือทดลองอย่างมีระบบ โดยใช้อุปกรณ์หรือวิธีการ เพื่อค้นหาข้อเท็จจริง

6. ประเภทของการวิจัย

6.7 ประเภทของการวิจัยจำแนกตามการจัดกระทำ
6.7.3 การวิจัยแบบทดลองที่แท้จริง
6.7.2 การวิจัยกึ่งทดลอง
6.7.1 การวิจัยแบบทดลองเบื้องต้น
6.6 จำแนกประเภทการวิจัยตามเป้าหมายหลักของการวิจัย
6.6.3 การวิจัยที่มุ่งแสวงหาความเป็นเหตุเป็นผลระหว่างตัวแปร
6.6.2 การวิจัยที่มุ่งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
6.6.1 การวิจัยที่มุ่งบรรยายตัวแปร
6.5 จำแนกตามเวลาที่ใช้ในการทำวิจัย
6.5.2 การวิจัยแบบต่อเนื่อง
6.5.1 การวิจัยแบบตัดขวาง/ระยะสั้น
6.4 จำแนกตามลักษณะของวิชา หรือศาสตร์
6.4.2 การวิจัยทางสังคมศาสตร์
6.4.1 การวิจัยทางวิทยาศาสตร์
6.3 จำแนกตามระเบียบวิธีวิจัย(Methodology)
6.3.2 การวิจัยเชิงบรรยาย

6.3.2.3 การศึกษาพัฒนาการ

6.3.2.2 การศึกษาความสัมพันธ์

6.3.2.1 การวิจัยเชิงสำรวจ

6.3.1การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
6.2 จำแนกตามลักษณะ(ความลึก/ความกว้าง)ของข้อมูล
6.2.2 การวิจัยเชิงคุณภาพ
6.2.1 การวิจัยเชิงปริมาณ

6.1 จำแนกตามประโยชน์ที่ได้รับหรือเหตุผลในการวิจัย

6.1.2 การวิจัยการนำไปใช
6.1.1 การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธ์

7.ขั้นตอนในการวิจัย

7) ขั้นดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
6) การสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูล
5) การเขียนเค้าโครงการวิจัย
4) การกำหนดสมมุติฐาน
3) การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2) การกำหนดขอบเขตของปัญหา
1) เลือกหัวข้อปัญหา

8.การจัดกระทำข้อมูล

4) การสรุปผลการวิจัยและเขียนรายงาน
3) Output เป็นขั้นตอนที่นำผลจากการขั้นตอนที่ได้จากขั้น Processing มาเขียนเป็นรายงาน
2) Processing เป็นขั้นตอนของการจัดแบ่งประเภทของข้อมูล
1) Input เป็นการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์

9.ตัวแปรและสมมติฐาน

7. ลักษณะของสมมติฐานที่ดี
7.2 อธิบายหรือตอบคำถามได้ เป็นต้น
7.1 สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการวิจัย
6. แหล่งที่มาของสมมติฐาน
6.5 การสังเกตพฤติกรรม สังเกตความสัมพันธ์ของตัวแปรต่าง ๆ ของพฤติกรรมนั้น
6.4 การได้ร่วมอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาที่จะศึกษากับบุคคลอื่น ๆ
6.3 ประสบการณ์เบื้องต้นของผู้วิจัย
6.2 การสนทนากับผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ
6.1 การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
5. ประเภทของสมมติฐาน
5.1 สมมติฐานทางวิจัย

2) สมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง

1) สมมติฐานแบบมีทิศทาง

4. สมมติฐาน
4.1 ลักษณะของสมมติฐาน

2) สามารถทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรเหล่านี้ได้และส่วนใหญ่ต้องอาศัยวิธีการทางสถิติ

1) เป็นข้อความที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ของตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป

3. การนิยามตัวแปรและการหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง
3.2 การนิยามตัวแปร
3.1 การหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง
2. ลักษณะและชนิดของตัวแปร
2.2 ชนิดของตัวแปร

2) ตัวแปรตาม

1) ตัวแปรอิสระ

2.1 ลักษณะของตัวแปร

2) ตัวแปรนามธรรม

1) ตัวแปรรูปธรรม

1. ความหมายของตัวแปร
ตัวแปร (variables) หมายถึง คุณสมบัติหรือคุณลักษณะ หรือปรากฏการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่ผู้วิจัยต้องการจะศึกษาหาความจริง

10.การเขียนคำถามวิจัย (Research Questions)

การเขียนคำถามการวิจัย จะเป็นจุดเริ่มต้นในการทำวิจัยที่มีความสำคัญ ช่วยเป็นแนวทางในการทำวิจัย แต่ผู้วิจัยมักจะมีปัญหาสงสัยไม่ทราบว่าจะตั้งคำถามวิจัยอย่างไร มีวิธีการเขียนที่ชัดเจนอย่างไร เกี่ยวกับการตั้งคำถามวิจัย