Catégories : Tous - การเข้าถึง - ความรู้ - นวัตกรรม

par Niphatorn Chaiwut Il y a 6 années

141

Knowledge society

การพัฒนาสังคมที่เน้นการใช้ความรู้และทักษะสูงเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในสังคมความรู้ยุคที่สองนั้น มุ่งเน้นการพึ่งตนเองและการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วน โดยลักษณะสำคัญประกอบด้วยการสะสม การถ่ายโอน การสร้างสรรค์ และการประยุกต์ใช้ความรู้ภายในสังคม นอกจากนี้ยังมีการประเมินความถูกต้องของความรู้และการเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การใช้อินเทอร์เน็ต การทำให้ความรู้ใช้ง่ายเป็นกฎเกณฑ์และระเบียบต่างๆ และการกระจายความรู้อย่างเหมาะสม โดยการตีค่าความรู้ต้องเป็นไปตามหลักวิชาการและไม่ขัดแย้งกับความเชื่อหรือวัฒนธรรม สังคมแห่งการเรียนรู้ยังต้องไม่จำกัดขนาดและสถานที่ ตั้งอยู่บนการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้ รวมถึงการมีส่วนร่วมของกลุ่มภาคประชาชนในการพัฒนาชุมชนและการริเริ่มการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ที่บุคคลและชุมชนต้องร่วมกันดำเนินการ

Knowledge society

Knowledge society(สังคมความรู้)

นิยาม

ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

11.ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
10.ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน
9.สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
8.การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
7.มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดาเนินการอย่างต่อเนื่อง
6.มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
5.มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน
4.สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดาเนินการ (Key Institutions)
3. ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา (Key Individuals)
2.เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
1. ไม่จากัดขนาดและสถานที่ต้ัง

ความรู้ (Knowledge)

กระบวนการจัดการความรู้(Processes of Knowledge)
7.การเรียนรู
6.การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
5.การเข้าถึงความรู้
4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ

เตรียมพร้อมสำหรับการเก็บความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อการเรียกใช้งานได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องในอนาคต

2.การสร้างและแสวงหาความรู้
1.การบ่งชี้ความรู้

พิจารณาว่าจะท าอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย

ระดับความรู้
4.ความรู้ใหม
3.ความรู้ด้านวิชาการ
2.ความรู้ด้านภาษา
1.ความรู้เกี่ยวกับสิ่งรอบตัวเรา
ประเภทของความรู้
2.Explicit Knowledge

ความรู้ที่ถูกบันทึุกไว้

1.Tacit Knowledge

ความรู้จากบุคคลไม่สามารถถ่ายทอดเป็นลายลักษณ์อักษรได้

ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันไม่สามารถแยกจากกันได้
สารสนเทศ(Information)

ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้

ตีพิมพ์ไม่ได้

สื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ

ตีพิมพ์ได้

เอกสารจดหมายเหตุ

วารสาร

หนังสือ

ความรู้(Knowledge)

อาศัยกระบวนการที่แปรผลมาจากข้อมูล สารสนเทศ การศึกษา ประสบการณ์ต่างๆ ที่สะสมในอดีต

ความสามารถในการนำสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ

ข้อมูล(Data)

ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือสิ่ง บางสิ่ง

กลุ่มของสัญลักษณ์ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ข้อความภาพ และเสียงที่ยังไม่ผ่านกระบวนการประมวลผล วิเคราะห์หรือสังเคราะห์เพื่อนำไปใช้ประโยชน์

5.ข้อมูลเสียง (Voice Data)

เสียงต่างๆ

เสียงสั่งงานคอมพิวเตอร์

4.ข้อมูลภาพลักษณ์ (Image Data)

เป็นข้อมูลที่เกิดจากกล้องดิจิตอล และการสแกนเอกสารด้วยสแกนเนอร์

สามารถเพิ่มขึ้นได้อย่างไม่จ ากัดในอนาคต

ไม่สามารถคำนวณได้

ภาพใบหน้าของแต่ละในบริษัท

3.ข้อมูลกราฟิก (Graphical Data)

เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างภาพกราฟิก

ข้อมูลภาพอาคาร

ข้อมูลภาพโต๊ะ

2.ข้อมูลตัวอักษรหรือข้อมูลที่เป็นข้อความ (Text Data)

เป็นข้อมูลที่ไม่สามารถนำมา คำนวณได้

ชื่อบริษัท

ชื่อคน

1.ข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจำนวน (Numeric Data)

เป็นข้อมูลตัวเลข ที่สามารถ นำมาบวก ลบ คูณ หารได้

ราคาสินค้า

ข้อมูลบัญชีการเงิน

ยุคของสังคมความรู้

ยุคที่ 2
สังคมความรู้แบบพอเพียง

ลักษณะสำคัญของสังคมความรู้ยุคที่ 2

4) มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม

3) มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม

2) มีการถ่ายโอนความรู้ภายสังคม

1) มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

พึ่งตนเอง

เป็นอิสระ

ใช้ความรู้เป็นพลัง

ประชาชนและทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมกันเป็นเจ้าของ

ยุคที่ 1
สังคมความรู้ที่มีพลังและอำนาจ มีการแข่งขันและมีบุคคลที่มีความรู้ทั้ง 5ด้าน

5.Knowledge Dissemination

การกระจายความรู้

4.Knowledge Optimization

การทำความรู้ให้ใช้ง่าย เป็นกฎเกณฑ์ ระเบียบต่างๆ เป็นกฎเกณฑ์ ระเบียบต่าง ๆ ต้องมีพื้นฐานมาจากความรู

การทำคู่มือ

3. Knowledge Valuation

การตีค่า ตีความรู้ของความคุ้มค่าโดยถูกต้องตามหลักวิชาการ

สิ่งที่ไม่ควรน้ำมาใช้ในการตีค่า

5.ไม่สร้างความยุติธรรม และศักดิ์ศรีมนุษย

4.ขัดกับความคิด ความเชื่อ หรือวัฒนธรรม

3.ปฏิบัติจริงได้ยาก ขาดสิ่งจำเป็น

2.ฟุ่มเฟือย

1.ความไม่คุ้มค่า

2. Knowledge Validation

การประเมินความรู้ที่ถูกต้องว่าถูกหรือไม่

1.Knowledge Access

การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ

การเข้าถึงความรู้ ทาง Internet

นิยาม

สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูงโดยความรูกจากบุคคลที่ทำงานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง