สถิติพื้นฐานเพื่องานวิจัย
ค่ามัธยฐาน (Median)
ขั้นตอนการหา
2) ทำการหาตำแหน่งกึ่งกลางของข้อมูลที่ได้จากขั้นตอนที่ 1
1) เรียงลำดับข้อมูลจากมากไปน้อย หรือจากน้อยไปมาก
เป็นค่ากลางของข้อมูลที่ได้จากการ
พิจารณาตำแหน่งของข้อมูลที่อยู่ตรงกลาง
ค่ามัธยฐานยังสามารถใช้เป็นตัวแทนของ
ข้อมูลได้เป็นอย่างดี ในกรณีที่ข้อมูลมีการ
กระจายที่ผิดปกติ
ข้อมูลต้องทำการเรียงลำดับตามปริมาณ
จากมากไปน้อย หรือจากน้อยไปมากก็ได้
ตัวอย่าง
ค่ามัธยฐาน
ตำแหน่งของค่ามัธยฐาน = N/2 = 40/2 = 20
L = (157+158)/2 = 157.5
แทนค่าในสูตร Mdn = 157.5 + [(20-14)/11]5
≈ 160.23
ดง
ั
น
้
น
ั ค่ามัธยฐานของความสูง คือ ≈ 160.23
สถิติพื้นฐาน
การวัดการกระจาย
ความแปรปรวน (Variance)
ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
พิสัย (Range)
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
ฐานนิยม (Mode)
มัธยฐาน (Median)
ค่าเฉลี่ย (Mean)
การแจกแจงความถี่ (frequency)
สถิติวิเคราะห์เพื่อแสดงความหมายทั่วไปของข้อมูล
และใช้เป็นพื้นฐานในการคำนวณสถิติขั้นสูงต่อไป
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ข้อดี
เป็นค่าที่มีประสิทธิภาพสูงสุด
เป็นค่าที่มีความแปรปรวนต่ำที่สุด
เป็นค่าที่มีความคงเส้นคงวา
เป็นค่าที่ไม่เอนเอียง
ค่าเฉลี่ยเป็นค่ากลาง
ทางสถิติค่าหนึ่ง ที่นิยมใช้ในการวิเคราะห์สถิต
สถิติสำหรับการทดสอบสมมติฐาน
การพยากรณ์ (regression)
การหาความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึ้ นไป ได้แก่
การหาสมัประสิทธิ์ สหสัมพันธ์(correlation)
การทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม ได้แก่ t-test F-test และ ไคส
แควร์(chi-square)
ความหมาย
เป็นสถิติที่ใช้สำหรับการวิเคราะห์เพื่อ
ทดสอบสมมติฐานว่าเป็นจริงตามที่กำหนดไว้หรือไม่