Kategoriak: All - บรรณานุกรม - รายงาน - วิทยานิพนธ์

arabera Kamonlux Saetun 4 years ago

298

การแสวงหาสารสนเทศและความรู้

การแสวงหาสารสนเทศและความรู้เป็นกระบวนการที่สำคัญในการศึกษาค้นคว้าและการทำรายงาน ซึ่งมีขั้นตอนต่างๆ เช่น การหาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อหาคำตอบจากปัญหา การเลือกและกำหนดหัวข้อ การจัดทำเค้าโครงรายงาน รวมถึงการอ่านและจดบันทึก การเขียนรายการอ้างอิงและบรรณานุกรม และการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ การทำรายงานมีส่วนประกอบที่สำคัญหลายส่วน เช่น ส่วนนำ ส่วนเนื้อเรื่อง และส่วนอ้างอิง นอกจากนี้ยังมีภาคผนวกและบรรณานุกรมที่ใช้เป็นแหล่งอ้างอิงข้อมูล การทำรายงานมีประโยชน์หลายด้าน เช่น การทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ การรู้จักใช้ความคิดอย่างมีเหตุผล และการพัฒนาการทางวิชาการในสาขาต่าง ๆ ภาคนิพนธ์และวิทยานิพนธ์ก็เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาค้นคว้าและการทำรายงานที่มีการเรียบเรียงตามระเบียบขั้นตอนทางวิชาการ โดยวิทยานิพนธ์เป็นรายงานผลการค้นคว้าวิจัยที่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาในระดับปริญญามหาบัณฑิต

การแสวงหาสารสนเทศและความรู้

การแสวงหาสารสนเทศและความรู้

Type in the name of the company you are going to have an interview with.

3. การอ้างอิงเอกสาร (Citations)

How ambitious are you?

เอกสารอ้างอิง
รายชื่อเอกสารที่ผู้เขียนใช้ศึกษาค้นคว้าในการเรียบเรียงรายงานเรื่องนั้น ๆ และเป็นเอกสารที่ได้เขียนรายการอ้างอิงไว้ในส่วนเนื้อเรื่องเท่านั้น
บรรณานุกรม

What are your long-term goals ?


Type them in.

รายชื่อเอกสารที่ผู้เขียนใช้ศึกษาค้นคว้าในการเรียบเรียงรายงานเรื่องนั้น ๆ นำมาใส่ไว้ท้ายรายงาน เพราะคาดว่าอาจจะเป็นประโยชน์กับผู้อ่านอื่น ๆ
การอ้างอิงเอกสารในงานเขียนต้องมีการอ้างอิงไว้ในตัวผลงาน 2 ส่วน คือ

What are your short-term goals ?


Type them in.

2. การอ้างอิงเอกสารส่วนท้ายเรื่องหรือท้ายรายงาน

รายละเอียดของรายการ

3) ส่วนที่เป็นการพิมพ์

2) ส่วนที่เป็นชื่อเรื่อง

1) ส่วนที่เป็นชื่อผู้แต่ง

1. การอ้างอิงเอกสารในส่วนเนื้อเรื่อง

การอ้างอิงระบบชื่อ-ปีเขียนได้2 แบบ คือ

เขียนระบุชื่อผู้แต่ง และปีพิมพ์ไว้ท้ายข้อความมีรูปแบบดังนี้ --> (ชื่อผู้แต่ง, ปีพิมพ์)

เขียนระบุชื่อผู้แต่ง และปีพิมพ์ไว้หน้าข้อความที่อ้าง มีรูปแบบดังนี้ --> ชื่อผู้แต่ง (ปีพิมพ์)

4. การเรียงลำดับรายการอ้างอิง

หลักการเรียงรายการตามลำดับอักษร
5) เอกสารผู้แต่งที่เป็นสถาบัน สมาคม หน่วยงาน ให้เรียงตามลำดับอักษรตัวแรก ของชื่อสถาบันที่สะกดเต็ม โดยเรียงไปทีละล าดับตั้งแต่หน่วยงานใหญ่ถึงหน่วยงานย่อย
4) ถ้าชื่อผู้แต่งเหมือนกัน ให้เรียงตามอักษรของชื่อต้นและชื่อกลาง
3) ชื่อสกุลที่มี article หรือ preposition เช่น de, la, du, von ให้เรียงตามกฎ ของภาษานั้น ถ้ารู้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของชื่อสกุล ให้เรียงล าดับอักษรตามรูปที่ปรากฏ
2) คำนำหน้าชื่อ M’ Mc ห รือ Mac ให้เรียงตามรูปที่ปรากฏ โดยไม่สนใจเครื่องหมาย ‘
1) ให้เรียงทีละตัวอักษรของคำนั้น

5. การใช้เครื่องหมายวรรคตอนในรายการอ้างอิง

5.5 การใช้คำย่อในการเขียนรายการอ้างอิง
คำย่อที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป โดยเฉพาะในการเขียนรายการอ้างอิง
5.4 เครื่องหมายมหัพภาคคู่ ( : colon)
ใช้เพื่อคั่นระหว่างชื่อสถานที่พิมพ์ (ชื่อเมือง, ชื่อรัฐ) และชื่อสำนักพิมพ์
5.3 เครื่องหมายอัฒภาค ( ; semi-colon)
ใช้เมื่อข้อความส่วนนั้นได้ใช้เครื่องหมายจุลภาคไปแล้ว โดยเฉพาะกรณีอ้างอิงเรื่องเดียวกันหลายๆ คน
5.2 เครื่องหมายจุลภาค ( , comma)
ใช้คั่นระหว่างผู้แต่งและปีพิมพ์ (กรณีการอ้างอิงระบบนามปี)
ใช้คั่นระหว่างชื่อผู้แต่งคนที่ 1 ถึงคนที่ 5 (กรณีมีผู้แต่ง 3-6 คน)
คั่นระหว่างชื่อและบรรดาศักดิ์ กรณีของผู้แต่งชาวไทย
คั่นระหว่างชื่อสกุลกับชื่อต้น กรณีที่กลับชื่อสกุลของผู้แต่งชาวต่างประเทศ
5.1 เครื่องหมายมหัพภาค ( . period)
ใช้เมื่อจบแต่ละส่วนของรายการอ้างอิง เช่น ผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ปีพิมพ์
เมื่อใช้ชื่อย่อหรือค าย่อ เช่น Ed. หรือ Eds.
เมื่อเขียนย่อชื่อแรกหรือชื่อกลางของผู้แต่งชาวต่างประเทศ เช่น Kennedy, J. F.

2. การคัดลอกความคิดของผู้อื่นโดยไม่มีการอ้างอิง (Plagiarism)

การอ้างอิงเอกสารเป็นจรรยาบรรณที่จำเป็นในวงวิชาการ เป็นการให้เกียรติกับเจ้าของผลงานเดิม ในการเรียบเรียงและนำเสนอสารสนเทศนั้น จะต้องนำเสนอให้ชัดเจนว่า ข้อความส่วนใดเป็นการอ้างอิง ความคิดของผู้อื่น และส่วนใดเป็นความคิดของเราเอง การลอกเลียนความคิดของผู้อื่นโดยไม่มีการอ้างอิง ถือเป็นการกระทำผิดจรรยาบรรณร้ายแรงในวงวิชาการ

1. การศึกษาค้นคว้าและการทำรายงาน

Research the company

You should find and learn as much as you can about the company where you are having an interview.

The interviewer will want to see what you know about them and why you chose the company.

Doing your homework will show that you are really interested.

1.5 รายงาน (Report)
ขั้นตอนการเขียนรายงาน

10. การเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Writing)

9. การเขียนรายการอ้างอิงและบรรณานุกรม (Write the Reference and Bibliography)

8. การเรียบเรียงรายงาน (Writing and revising)

7. การจัดทำโครงเรื่องครั้งสุดท้าย (The final outline)

6. การใช้สารสนเทศจากแหล่งต่าง ๆ (Using sources of Information)

5. การอ่านและจดบันทึก (Reading and Notes)

4. รวบรวมบรรณานุกรม (The working bibliography)

3. การจัดทำเค้าโครงรายงาน (the Preliminary Outline)

2. อ่านข้อมูลของเนื้อหาวิชาเพื่อเป็นพื้นความ รู้ (Reading for Background) และกำหนดวัตถุประสงค์ของการทำรายงาน (Report objectives)

1. เลือกและกำหนดหัวข้อการทำรายงาน (Choose the topics)

ส่วนประกอบของรายงาน

3. ส่วนอ้างอิง (Citation)

2. ส่วนเนื้อเรื่อง (Body of contents)

Subtopic

3.2 ภาคผนวก (Appendixes)

3.1 บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง (References)

1. ส่วนนำ

1.5 สารบัญ หรือสารบาญ (Table of contents)

1.4 คำนำ (Preface)

1.3 กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement)

1.2 หน้าปกใน (Title page)

1.1 ปกนอก (Cover)

ประโยชน์ของการทำรายงาน

ทำให้เกิดการรู้จักใช้ความคิดอย่างมีเหตุผล

ช่วยให้ทราบข้อมูลที่แท้จริง

ทำให้มีพัฒนาการทางวิชาการในสาขาวิชาต่างๆ

ทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่

เป็นผลที่ได้จากการศึกษา ค้นคว้า วิจัย มีการเรียบเรียงตามระเบียบขั้นตอนทางวิชาการ
1.4 วิทยานิพนธ์ ( Thesis/Dissertation)
เป็นรายงานผลของการค้นคว้าวิจัยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาในระดับปริญญามหาบัณฑิต หรือปริญญาดุษฎีบัณฑิต
1.3 ภาคนิพนธ์ (Term paper)

What can you do for this company that someone else can't?


Type in several unique traits that will turn you into the perfect candidate for the position.

มีลักษณะเช่นเดียวกับรายงาน เพียงแต่เรื่องที่ผู้ทำภาคนิพนธ์มีรายละเอียดลึกซึ้งมากกว่า
1.2 การวิจัย (Research)

What do you know about the company?


Type a short description of the company's background.

การสำรวจ ตรวจหา เพื่อหาคำตอบในเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างมีระบบและแบบแผนตามขึ้นตอนและระเบียบวิธีวิจัย
1.1 การศึกษาค้นคว้า

Why do you want to work for this company?


Think of what you can do for them, not of what they can do for you.

การหาข้อมูลหรือการหาความรู้เพิ่มเติม เพื่อหาคำตอบจากปัญหาหนึ่งโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้รับความรู้ในเรื่องนั้นๆ