Categorías: Todo

por Patarawan THORATH hace 5 años

1258

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกส่งผลกระทบอย่างมากต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม การพยากรณ์อากาศเป็นเครื่องมือสำคัญในการเตรียมพร้อมรับมือกับเหตุการณ์ธรรมชาติต่างๆ เช่น พายุฝนฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน และการเปลี่ยนแปลงของลมฟ้าอากาศ ความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างชั้นบรรยากาศและกระบวนการเกิดพายุเป็นสิ่งที่มีค่ามากสำหรับการคาดการณ์และการป้องกันภัยธรรมชาติ นอกจากนี้ยังมีธรณีพิบัติภัยอื่นๆ เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด น้ำท่วม การกัดเซาะชายฝั่ง และดินถล่ม ซึ่งจำเป็นต้องมีแนวทางการปฏิบัติตนที่เหมาะสมเพื่อความปลอดภัย การศึกษาเกี่ยวกับดินและน้ำก็เป็นเรื่องสำคัญเพื่อการใช้งานอย่างยั่งยืน การใช้เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ควรคำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและหาแนวทางที่เหมาะสมในการใช้ ทั้งหมดนี้เป็นความรู้ที่จำเป็นสำหรับการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของโลกในปัจจุบัน

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

ดาวฤกษ์ก่อนเกิดจนเป็นดาวฤกษ์

กาแล็กซีทางช้างเผือก

พลังงาน สสาร ขนาดอุณหภูมิของเอกภพหลังเกิดบิ๊กแบง

ช่วงเวลาต่างๆตามวิวัฒนาการของเอกภพ

5.แผ่นดินไหว

4.ภูเขาไฟระเบิด

ภัยธรรมชาติ และธรณีพิบัติภัยที่อาจเกิดในท้องถิ่น

น้ำท่วม

สึนามิ

แผ่นดินไหว

ดินถล่ม

การกัดเซาะชายฝั่ง

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

ว3.1

10.แนวคิดการนำความรู้ทางด้านเทคโนโลยีอวกาศมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันหรือในอนาคต
9.ปรากฏการณ์หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับผลของลมสุริยะ และพายุสุริยะที่มีต่อโลก รวมทั้งประเทศไทย
8.ลักษณะของดาวเคราะห์ที่เอื้อต่อการดำรงชีวิต
8.การแบ่งเขตบริวารของดวงอาทิตย์
7.การเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการของดาวฤกษ์
3.ตำแหน่งของระบบสุริยะ
3.โครงสร้าง
3.องค์ประกอบ
1.การเปลี่ยนแปลง
10.อธิบายการสำรวจอวกาศ

กล้องโทรทรรศน์ในช่วงความยาวคลื่นต่างๆ ดาวเทียม ยานอวกาศ สถานีอวกาศ

9.โครงสร้างของดวงอาทิตย์ การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะ
8.กระบวนการเกิดระบบสุริยะ
7.ลำดับวิวัฒนาการที่สัมพันธ์กับมวลตั้งต้น
6.ความสัมพันธ์

สเปกตรัมของดาวฤกษ์

อุณหภูมิผิว

สี

5 ระบุปัจจัยที่ส่งผลต่อความส่องสว่างของ ดาวฤกษ์ และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความส่องสว่างกับโชติมาตรของดาวฤกษ์
4.กระบวนการเกิดดาวฤกษ์

ขนาด

อุณหภูมิ

ความดัน

3. เชื่อมโยงกับการสังเกตเห็นทางช้างเผือกของคนบนโลก
2.หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง

ข้อมูลการค้นพบไมโครเวฟ พื้นหลังจากอวกาศ

ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับระยะทางของกาแล็กซี

1.การกำเนิด
ม.3
4.ความก้าวหน้าของโครงการ สำรวจอวกาศ
4.การใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศ
3.อธิบายการเกิดข้างขึ้น ข้างแรม การเปลี่ยนแปลงเวลาการขึ้นและตก ของดวงจันทร์ และการเกิดน้ำขึ้นน้ำลง
2.อธิบายการเกิดฤดูและการเคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทิตย์
1.การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด้วยแรงโน้มถ่วง

สมการF=(Gm1m2)/r2

2.การนําเทคโนโลยีอวกาศมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจําวัน
2.พัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศ
1.ปรากฏการณ์สุริยุปราคา และจันทรุปราคา
1.อธิบายการเกิดปรากฏการณ์สุริยุปราคา และจันทรุปราคา
2.แบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้าในรอบปี
2.แผนที่ดาวระบุตําแหน่งและเส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้า
1.ความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์
ป.4
3.เปรียบเทียบคาบการโคจรของดาวเคราะห์ต่าง ๆ
3.แสดงองค์ประกอบของระบบสุริยะ
2.รูปร่างปรากฏของดวงจันทร์
2.อธิบายแบบรูปการเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์
1.แบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของดวงจันทร์
3.ความสําคัญของดวงอาทิตย์

ประโยชน์ของดวงอาทิตย์ต่อสิ่งมีชีวิต

2.สาเหตุการเกิดปรากฏการณ์การขึ้นและตกของดวงอาทิตย์การเกิดกลางวันกลางคืน และการกําหนดทิศ

แบบจําลอง

1.แบบรูปเส้นทางการขึ้นและตก ของดวงอาทิตย์
2.สาเหตุที่มองไม่เห็นดาวส่วนใหญ่ ในเวลากลางวัน
1.ดาวที่ปรากฏบนท้องฟ้าในเวลากลางวัน และกลางคืน

ว3.2

ม.6
13.แนวปฏิบัติเพื่อลดกิจกรรมของมนุษย์ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก
13.ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก
11.รูปแบบการหมนุเวียนของน้ำผิวหน้าในมหาสมุทร
14.สัญลักษณ์ลมฟ้าอากาศที่สำคัญจากแผนที่อากาศ และนำข้อมูลสารสนเทศต่างๆ

การดำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับสภาพลมฟ้าอากาศ

12.ผลของการหมุนเวียนของอากาศ และน้ำผิวหน้าในมหาสมุทร

สิ่งแวดล้อม

สิ่งมีชีวิต

ลมฟ้าอากาศ

ลักษณะภูมิอากาศ

11.ปัจจัยที่ทำให้เกิดการหมุนเวียนของน้ำ ผิวหน้าในมหาสมทุร
10.การหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด และผลที่มีต่อภูมิอากาศ
9 .ทิศทางการเคลื่อนที่ของอากาศที่เป็นผลมาจากการหมุนรอบตัวเองของโลก
8.การหมุนเวียนของอากาศที่เป็นผลมาจากความแตกต่างของความกดอากาศ
7.ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการได้รับพลังงาน

ดวงอาทิตย์แตกต่างกันในแต่ละบริเวณของโลก

6.สาเหตุกระบวนการเกิด และผลจากสึนามิ
5.สาเหตุกระบวนการเกิดขนาดและความรุนแรง และผลจากแผ่นดินไหว

พื้นที่เสี่ยงภัย

3.หลักฐานทางธรณีวิทยาที่พบ
3.รูปแบบแนวรอยต่อของแผ่นธรณีที่สัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
แนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัย

6.สึนามิ

4.สาเหตุกระบวนการเกิดภูเขาไฟระเบิด
2.หลักฐานทางธรณีวิทยาที่สนับสนุนการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
1.การแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างโลก

ข้อมูลที่สนับสนุน

3.สาเหตุการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
ม.2
10.อธิบายกระบวนการเกิด และผลกระทบ

น้ำท่วม การกัดเซาะชายฝั่ง ดินถล่ม หลุมยุบ แผ่นดินทรุด

9.อธิบายการใช้น้ำ

แนวทางการใช้น้ำอย่างยั่งยืนในท้องถิ่นของตนเอง

8.ปัจจัยและกระบวนการเกิดแหล่งน้ำผิวดิน และแหล่งน้ำใต้ดิน
7.สมบัติบางประการของดิน

แนวทางการใช้ประโยชน์ดินจากข้อมูลสมบัติของดิน

เครื่องมือที่เหมาะสม

6.ปัจจัยที่ทำให้ดินมีลักษณะและสมบัติแตกต่างกัน
6.ลักษณะของชั้นหน้าตัดดินและกระบวนการเกิดดิน
5.ผลของกระบวนการดังกล่าวที่ทำให้ผิวโลกเกิดการเปลี่ยนแปลง
5.กระบวนการผุพังอยู่กับที่การกร่อน และการสะสมตัวของตะกอน
4.อธิบายโครงสร้างภายในโลกตามองคป์ระกอบทางเคมี
3.ข้อดีและข้อจำกัดของพลังงาน ทดแทนแต่ละประเภท

แนวทางการใช้พลังงานทดแทนที่เหมาะสมในท้องถิ่น

2.ถึงผลจากการใช้เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์

แนวทางการใช้เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์

1.ผลกระทบจากการใช้เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์

ข้อมููลที่รวบรวมได้

1.กระบวนการเกิดสมบัติ และการใช้ประโยชน์
ม.1
6.สถานการณ์และผลกระทบการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศโลก
1.ที่อธิบายการแบ่งชั้นบรรยากาศ
Subtopic
3.กระบวนการเกิดพายุ ฝนฟ้าคะนอง และพายุหมุนเขตร้อน
7.ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก

แนวทางการปฏิบัติตนภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก

5.คุณค่าของการพยากรณ์อากาศ

การใช้ประโยชน์จากคำพยากรณ์อากาศ

แนวทางการปฏิบัติตน

4.อย่างง่ายจากข้อมูลที่รวบรวมได้
4.การพยากรณ์อากาศ
2.ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
ผลที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

แนวทางการปฏิบัติตนให้เหมาะสมและปลอดภัย

1.ประโยชน์ของบรรยากาศแต่ละชั้น
ป.6
9.ผลกระทบของปรากฏการณ์เรือนกระจก

แนวทางการปฏิบัติตนเพื่อลดกิจกรรมที่ก่อให้เกิดแก๊สเรือนกระจก

8.ผลของปรากฏการณ์เรือนกระจกต่อสิ่งมีชีวิต
3.สภาพแวดล้อมในอดีตของซากดึกดำบรรพ์
8.อธิบายการเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก
7.ผลกระทบของภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย

แนวทางในการปฏิบัติตนให้ปลอดภัย

แนวทางในการเฝ้าระะวังภัย

6.ผลกระทบ
6.ลักษณะ
5 ผลของมรสมุต่อการเกิดฤดูของประเทศไทย
4.ผลที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
4.การเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม
3.อธิบายการเกิดซากดึกดำบรรพ์
2.แร่ในชีวิตประจำวันจาก
2.การใช้ประโยชน์ของหิน
1.วัฏจักรหิน
1.กระบวนการเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร
ป.5
4.กระบวนการ

น้ำค้างแข็ง

น้ำค้าง

หมอก

เมฆ

แบบจำลอง

3.อธิบายการหมุนเวียนของน้ำในวัฏจักรน้ำ
2.คุณค่าของน้ำ

แนวทางการอนุรักษ์น้ำ

แนวทางการใช้น้ำอย่างประหยัด

1.ปริมาณน้ำที่มนุษย์สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้
5.กระบวนการ

ลูกเห็บ

หิมะ

ฝน

1.ปริมาณน้ำในแต่ละแหล่ง
ป.3
4.ประโยชน์และโทษของลม
1.ผลกระทบของมลพิษทางอากาศต่อสิ่งมีชีวิต
3.การเกิดลม

หลักฐานเชิงประจักษ์

2.ความสำคัญของอากาศ

แนวทางการปฏิบัติตนในการลดการเกิดมลพิษทางอากาศ

1.ความสำคัญของอากาศ
1.ส่วนประกอบของอากาศ
ป.2
2.การใช้ประโยชน์จากดิน

ข้อมูลที่รวบรวมได้

1.ชนิดของดิน

การจับตัว

ลักษณะเนื้อดิน

1.ส่วนประกอบของดิน
ป.1
1.ลักษณะภายนอกของหิน

ลักษณะเฉพาะตัวที่สังเกตได้