Categorías: Todo - ประเภท - กระบวนการ - ประสบการณ์ - ความรู้

por chanaporn namson hace 4 años

255

สังคมความรู้

สังคมความรู้มีการพัฒนามาในแต่ละยุคและมีการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ ความรู้สามารถแบ่งออกเป็นหลายประเภท รวมถึงความรู้ที่ชัดเจนและความรู้ที่ซ่อนเร้น ความรู้ชัดเจนคือความรู้ที่สามารถบันทึกและถ่ายทอดได้ง่าย เช่น ฐานข้อมูลหรือข้อเท็จจริง ส่วนความรู้ที่ซ่อนเร้นคือความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคล เช่น ทักษะและประสบการณ์ที่ได้จากการทำงาน นักวิชาการหลายท่านได้ให้คำนิยามความหมายของความรู้ในแง่มุมต่าง ๆ บางท่านมองว่าความรู้เป็นสิ่งที่เพิ่มขีดความสามารถในการทำงาน ขณะที่บางท่านมองว่าความรู้เป็นผลจากการศึกษาและการฝึกฝน การจัดการความรู้จึงเป็นสิ่งสำคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพและการพัฒนาของบุคคลและองค์กร ความรู้สามารถเกิดจากการศึกษาหรือการทดลอง ซึ่งนำไปสู่การสร้างความรู้ใหม่ ความเข้าใจในประเภทของความรู้และการจัดการความรู้จะช่วยให้สามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

สังคมความรู้

สังคมความรู้

ความรู้ (Knowledge)

ประเภทแบบความรู้ Typoe of Knowledge
2. Explicit Knowledge ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายโอนได้ เช่น ฐานข้อมูล นอกจากนั้น มนตรี จุฬาตรี 2537 ได้แบ่งประเภทของความรู้ออกเป็น 4 ระดับ

4. ความรู้ใหม่ คือ ความรู้ที่ไม่เคยมีมาก่อน เป็นความรู้ที่เกิดจากการค้นคว้า

3. ความรู้ด้านวิชาการเป็นความรู้ที่เกิดจากการศึกษาเล่าเรียน

วินิจฉัยได้

สามารถคำนวนได้

2. ความรู้ด้านภาษา ซึ่งจะทำให้อ่านและเขียนหนังเสือได้

ดูโทรทัศน์รู้เรื่อง

ฟังเข้าใจ

1. ความรู้เกี่ยวกับสิ่งรอบตัวเรา ซึ่งรับรู้ได้จากการสัมผัส

ได้ลิ้มรส

ได้ยิน

ได้กลิ่น

การมองเห็น

1. Tacit knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ที่ซ่อนเร้น

การคิดเชิงวิเคราะห์

งานฝีมือ

ทักษะในการทำงาน

ความหมายของความรู้ Definition of Knowledge
จากคำนิยามต่างไป สรุปได้ว่า ความรู้หมายถึง ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง
ชาร์ราชและยูโซโร 2003:188 กล่วกว่า ความรู้คือความสัมพันธ์เกี่ยวข้องโดยตรงระหว่างความเข้าใจ
- อลาวี และลีเดอร์ 2001-109 กล่าวว่า ความรู้คือ สิ่งที่พิสูจน์ให้เห็นว่าเป็นการเพิ่มขีดความสามารถที่จะนำมาซึ่งประสิทธิภาพที่ดีกว้า
- พรธิดา วิเชียรปัญหญ 2547 กล่าวว่า ความรู้คือ กระบวกการขัดเกลา เลือกใช้ และการบูรณาการ จนเกิดความรู้ใหม่
- วิศิณ ชูประยูร 2545:29 กล่าวว่า ความรู้ หมายถึงข้อเท็จจริงและสารสนเทศทั้งในด้านวิทยาศาสตร์ หลักการ กฎธรรมชาติ
- ภราดร จินดาวงศ์ 2549:4 กล่าวว่า ความรู้คือ สิ่งที่ได้มาโดยการศึกษา ประสบการณ์ทักษะ การอบรม การดูงาน
-Haraldsson 2003 กล่าวว่า การไหลเวียนของความรู้สึก ปฎิกริยาตอบกลับ การตัดสินใจ สารสนเทศ
- Cavenport and Prusak 1998:5 กว่าว่าความรู้ หมายถึง ส่วนผสมที่เกิดจากประสบการณ์การทำงาน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับความรู้
ข้อมูลสารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ซึ่งทั้ง3คำมีนักวิชากันหลายๆท่านได้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล สารสนเทศและความรู้ ไว้ดังนี้

2. ความหมายของสารสนเทศ (Information)

- Orna 1998 กล่าวว่า สารสนเทศ คือ การถ่ายทอดความรู้ของมนุษย์เพื่อการสื่อสารไปยังบุคคลอื่น

รายงานการประชุม

บทความ

หนังสือ

สุนทรพจน์

สิ่งตีพิมพ์

ทัศสรวัสดุ

โสตวัสดุ

Tuoboan 2006 กล่าวว่า สารสนเทศคือข้อมูลที่ผ่านการจัดการและการและตีความหมายแล้วมีคุณค่าต่อผู้รับเพื่อการนำไปใช้งาน

เกรดเฉลี่ยสะสมของนักเรียน

- คณาจารย์ภาควิชาบรรณณดารักษาศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2544 กล่าว สารสนเทศหรือสารนิเทศ หมายถึง แก่นหรือเนื้อหาที่สำคัญ ซึ่งได้มีการแจงแสดงออกให้ทราบ

- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2549 กล่าวว่า สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลมนุษย์วิเคราะห์และตีความแล้ว

- สมนึก เอื้อจิระพงศ์พันธ์ 2553 กล่าวว่า หมายถึง ข้อมูลที่มีคุณค่าและคุณประโยชน์

ข้อมูลความเป็นจริงในการปฏิบัติงาน

1. ความหมายของข้อมูล (Data) Ackoff (1989) กล่าวว่า ข้อมูล คือ สัญลักษณ์ที่ยังไม่ได้แปรความ

- ประสิทธิ์ ทีฆพุฒิ และครรชิต มาลัยวงศ์ 2549:35-37 กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง บันทึกที่แสดงความเป็นไปหรือเป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆ ผซึ่งข้อมูลสามารถแบ่งออกเป็น 5 ประเภท

# จากบทนิยามข้างต้น สรุปได้ว่า ข้อมูลคือ กลุ่ใของสัญลักษณ์ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ภาพ เสียงที่ยังไม่ผ่านกระบวนการประมวลผล

5. ข้อมูลเสียง(Voice Data) คือ เสียงต่างๆ

เสียงที่บันทึกไว้

เสียงพูด

เสียงสั่งงานคอมพิวเตอร์

ข้อมูลภาพสัญลักษณ์ (Image Data) เป็นข้อมูลที่เกิดจากการถ่ายภาพกล้องดิจิตอล หรือการแสดงเอกสารด้วยเครื่องสแกนเนอร์

ภาพถ่ายใบหน้าของพนักงานแต่ละคนในบริษัท

3. ข้อมูลกราฟิก (Graphical Data) เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างภาพกราฟิก

ภาพอาคาร

ภาพเก้าอี้

ข้อมูลภาพโต๊ะ

2 . ข้อมูลตัวอักษรหรือข้อมูลที่เป็นข้อความ (Text Data) เป็นข้อมูลที่ไม่สามารถนำมาคำนวนได้

ชื่อบริษัท

1. ข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจำนวน (Numeric Data) เป็นข้อมูลตัวเลข ที่สามารถน้ำมาบวกลบคูณหารได้

ราคาสินค้า

ข้อมูลบัญชีการเงิน

- วิจารณ์ พานิช 2546 กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลเชิงบรรยาย หรือข้อเชิงปริมาณเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง

- พรธิดา วิเชียรปัญญา 2547 กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลดิบที่เกิดจากการทำงานประจำวัน ซึ่งถือว่าเป็นข้อมูลในระดับปฏิบัติการ

กระบวนการความรู้

7. การเรียนรู้ ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน

การเรียนรู้จากสร้างองค์ความรู้

6. การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้

การสับเปลี่ยนงาน

การยืมตัว

เวทีการ

แลกเปลี่ยนความรู้

5. การเข้าถึงความรู้ เป็นการทำให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้

4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้

ปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์

ใช้ภาษาเดียวกัน

การปรับปรุงแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน

3. การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับเก็บความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อการเรียกใช้งาน

2. การสร้างและแสวงหาควมรู้ ซึ่งสามารถทำได้หลายอย่างทาง

การสร้างความรู้ใหม่

1. การบงชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะทำอะไรอย่างไรให้องค์บรรลุเป้าหมาย

บทสรุป

ความรู้ นับว่าเป็นสิ่งที่จำเป็นในสังคมความรู้ ผู้ที่มีความสามารถในการจัดการความรู้ได้ดี จะช่วยให้สามารถพัฒนาศักยภาพของตนเอง ช่วยเหลือผู้อื่นในส่ฃคมหรือองค์กรการเรียนรู้ได้ดี การสพสมความรู้ ถ่ายโอนความรู้ สร้างความรู้ใหม่ และการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคมจะช่วยสร้างและพัฒนาบุคคลหือองค์การให้ความรู้ให้มีความรู้ ความสามารถรวมถึงทักษะต่างๆ ในการดำรงชีวิต

ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้

11. ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน
10. ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมนุมร่วมกัน
9. สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้
8. การเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา
7. มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
6. มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้
5. มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง Corps Groups
4. สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ Key lnstitutions
3. ประชาชนได้รับโอกาสพัฒนา key lndividuals
2. เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
1.ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง

เนื้อหา

2. ยุคของสังคมความรู้ Cknledge society Era
2. สังคมความรู้ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุกภาคส่วนมีบทบาท นักวิชาชีพมีบทบาท Knowledge Broker ทำให้เกิดเป็นวิจัยบูรณาการ

วงจรวัฎจักรของความรู้ในทางสังคม

4. มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม

3. มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม

2. มีการถ่ายโอนความรู้ภายในสังคม

1. มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

1. สังความความรู้ยุคที่ 1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอำนาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิตมีความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาด และความอยู่รอด

1.5 Knowledge Disseminaton คือ การกระจายความรู้ ปัจจุบันความรู้เป็นสมบัติสาธารณะที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้

1.4 Knowledge Optimzaton คือ การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้ การนำความรู้ออกมาเป็นกฎเกณฑ์ ระเบียบต่างๆ

การทำคู่มือต่างๆ

1.3 knowledge valuation คือ การตีค่า การตีความรู้ ว่าเมื่อมีการใช้ความรู้นั้นแล้วมีความคุ้นค่าหรือไม่ การตีค่าความรู้ที่มีหลักฐานถูกต้องตามหลักวิชาการแต่ไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้โดยส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจก

5. ไม่สร้างความยุติธรรมและศักดิ์ศรีมนุษย์

4. ขัดกับความคิด ความเชื่อหรือวัฒนธรรม

3. ปฏิบัติจริงได้ยาก ขาดสิ่งจำเป็น

2. ใช้สำหรับสิ่วที่ไม่จำเป็น หรือฟุ่มเฟือย

1. ความไม่คุ้มค่าหรือราคาแพงเกินกว่าประผลประโยชน์

1.2 Knowledge validaion คือ การประเมินความถูกต้องของความรู้ ความรู้มีทั้งของจริงและของหลอก ดังนั้นจะต้องมีการประเมินความถูกต้องของความรู้

1.1 Knowledge Access คือ การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ

ICT Connectvity

Internet

1. นิยามหรือความหมายของสังคม (Definiton of knowlede society)
สังคมความรู้ว่าเป็นกระบวนการทางสังคมที่เกื้อหนูนส่งเสริมให้บุคลากรหรือสมาชิกหรือสังคมเกิดการเรียนรู้โดยผ่านสื่อ
- สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศ จากความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง

บทนำ

พัฒนาสังคมให้กลายเป็นสังคมความรู้ อันจะนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม บ้านเมือง
สารสนเทศจะกลายเป็นทรัพยากรที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่ง
สารสนเทศนับว่าเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญ เข้ามาเป็นบทบาทในชีวิตมนุษย์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
การให้บริการ
การท่องเที่ยว
การผลิตสินค้า
การค้า
สังคมความรู้เป็นกระบวนการทางสังคมที่เกื้อหนุนส่งเสริมให้บุคลากรหรือสมาชิกในชุมชน

วัตถุประสงค์

อธิบายกระบวนการจัดการความรู้ได้
อธิบายความหมายประเภทของความรู้ได้
อธิบายลักษณะสำคัญของสังคมความรู้ในแต่ละยุคได้