Categorías: Todo - การเรียนรู้ - พฤติกรรม

por Kingkamol Khetsathan hace 6 años

332

กิ่งกมล เขตสถาน 057

การศึกษาเกี่ยวกับจิตวิทยาสำหรับครูเน้นที่การทำความเข้าใจพฤติกรรมและปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยมีการศึกษาในทฤษฎีการเรียนรู้ต่าง ๆ รวมถึงการทดลองสำคัญในกลุ่มพฤติกรรมนิยม เช่น การทดลองของพาฟลอฟและวัตสัน ซึ่งเน้นการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกและเชื่อว่าพฤติกรรมมนุษย์สามารถเปลี่ยนแปลงได้ นอกจากนี้ยังมีการทดลองของสกินเนอร์และธอร์นไดค์ที่เน้นกฎของความพึ่งพอใจ ความพร้อม และการฝึกฝน กลุ่มการเรียนรู้ทางสังคมของบันดูรายังพิจารณาถึงสภาพแวดล้อม ปัญญา และพฤติกรรม ในขณะเดียวกัน กลุ่มมนุษยนิยม เช่น แนวคิดของโรเจอร์สและคอมบ์ส เน้นการเรียนรู้ด้วยตนเอง การมีส่วนร่วม และการพัฒนาเต็มศักยภาพของผู้เรียน สำหรับกลุ่ม Gestalt เน้นการรับรู้และการหยั่งรู้ ปัจจัยที่ส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้ประกอบด้วยปัจจัยด้านจิตวิทยาและกายภาพ องค์ประกอบสำคัญของการเรียนรู้รวมถึงสภาพการณ์ที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ ระดับสติปัญญา สมองและระบบประสาท ความตั้งใจและแรงจูงใจในการเรียนรู้ นอกจากนี้ยังมีจิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษาที่เน้นการแนะแนวการศึกษา อาชีพ และส่วนตัว โดยปรัชญาของการแนะแนวเชื่อว่าบุคคลมีค่าและความแตกต่างกัน

กิ่งกมล เขตสถาน 057

จิตวิทยาสำหรับครู

การสร้างสัมพันธภาพที่ดี

การประยุกต์ใช้
โดยคำนึงถึงหลักการให้ประการ

ให้ความสำคัญ

ให้คำพูดทีไพเราะ

ให้ความไว้วางใจ

ให้โอกาส

ให้คำแนะนำ

ให้กำลังใจ

ให้อภัย

ให้ความรัก

ให้ความเมตตา

ให้รอยยิ้ม

การสร้างความสัมพันธ์ทีดีกับบุคคลต่าง ๆ
การสร้างความสัมพันธ์ทีดีกับสังคม/ชุมชน
การสร้างความสัมพันธ์ทีดีกับผู้ปกครอง
การสร้างความสัมพันธ์ทีดีกับผู้บริหาร
การสร้างความสัมพันธ์ทีดีกับเพื่อนครู/เพื่อนร่วมงาน
การสร้างความสัมพันธ์ทีดีกับผู้เรียน
ทฤษฎีสัมพันธภาพ
ทฤษฎีหน้าต่างโจฮารี โดยโจเซฟ ลุฟท์

ทฤษฎีหน้าต่างโจฮารีทำให้ได้ข้อคิดว่า

บริเวณเปิดเผยและซ่อนเร้นสำคัญโดยตรงกับการสร้างมนุษยสัมพันธ์

คนเราสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้

ไม่มีใครรู้จักตนเองอย่างถ่องแท้

บริเวณมืดมน / ส่วนไม่รู้

บริเวณซ่อนเร้น

บริเวณจุดบอด

บริเวณเปิดเผย

ทฤษฎีการวิเคราะห์การติดต่อสัมพันธ์

ซึ่งเบิร์น แบ่งตำแหน่งชีวิตเป็น 4 ประเภท

ฉันเลวคุณก็เลว

ฉันเลวแต่คุณดี

ฉันดีแต่คุณเลว

ฉันดีคุณก็ดี

รูปแบบการสื่อสารสัมพันธ์ระหว่างบุคคล

การติดต่อสื่อสารทีเคลือบแฝง

การติดต่อสื่อสารทีขัดแย้งกัน

การติดต่อสื่อสารที่สอดคล้อง

พฤติกรรมแบบเด็ก

พฤติกรรมแบบผู้ใหญ่

. พฤติกรรมแบบพ่อแม่

อุปสรรคในการติดต่อสื่อสารสัมพันธ์
ลักษณะการสื่อสารที่ดี หลัก 5c

Concrete

Concise

Clear

Correct

Complete

ทิศทางการสื่อสาร

การสื่อสารตามแนวราบ

การสื่อสารจากล่างขึ้นบน

การสื่อสารจากบนลงล่าง

องค์ประกอบของการสื่อสาร

ผู้รับสาร

ช่องทาง

สาร

ผู้ส่งสาร

ปัจจัยทีทำให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
การสื่อสาร
เกียรติยศ ชื่อเสียง ตระกูล ฐานะ การงาน
การเติมเต็มความต้องการของกันและกัน
ความกระตือรือร้นในการทีจะพบปะกับผู้อื่น
การมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนความรู้สึกทีดีร่วมกัน
ความเหมือนกันหรือความคล้ายกัน
ความสะดุดตาของรูปร่าง หน้าตา ผิวพรรณ คำพูดวาจา การกระทำทีดี
ความใกล้ชิด
ความสำคัญของสัมพันธภาพ
ส่งผลโดยตรงต่อการทำงาน สังคม เศรษฐกิจ ธุรกิจ การเมือง การปกครอง
มีความราบรื่นในการคบหาสมาคมกับผู้อื่น
ทำให้บุคคลเรียนรู้ เข้าใจความต้องการพื้นฐานของมนุษย์
การติดต่อเกี่ยวข้องกันระหว่างบุคคล หรือความสัมพันธ์ของบุคคลทีเอื้ออำนวยต่อการดำรงชีวิตร่วมกันอย่างราบรื่น ก่อให้เกิดความร่วมมือร่วมใจในการทำงาน ทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ทังส่วนตัวและส่วนรวม

จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คำปรึกษา

การจัดและบริหารงานแนะแนว
ควรเลือกบุคคลที่มีความรู้ที่มีความสนใจด้านการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวต้องครอบคลุมทั้งสามด้าน
ได้รับความร่วมมือจากทุฝ่าย
ผู้บริหารให้การสนับสนุนงบประมาณ
ผู้บริหารต้องมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการแนะแนวและให้ความสำคัญ
บริการแนะแนว
บริการติดตามผล

การสังเกต

การอภิปรายกลุ่ม โดยศิษย์เก่ามาร่วมแสดงความคิดเห็น

การติดต่อกับบุคคลที่รู้จัก

การติดต่อเป็นการส่วนตัว

การเขียนติดต่อบุคคลใช้แบบสอบถามหรือความคิดเห็น

บริการจัดวางตัวบุคคล

ประเภทบริการการจัดวางตัวบุคคล

บริการจัดวางตัวนักเรียนที่ออกจากโรงเรียน

บริการจัดวางตัวนักเรียนที่อยู่ในโรงเรียน

การช่วยนักเรียนใช้โอกาศที่ตนมีอยู่ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่และมากที่สุด

การจัดให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่ถนัดและสนใจ

การจัดให้นักเรียนได้เรียนวิชาที่เหมาะสม

การจัดบรรจุงาน

บริการให้คำปรึกษา

ประโยขน์และคุณค่าของการเป็นผู้ให้คำปรึกษา

ฝึกความอดทน

ยอมรับความแตกต่างของบุคคล

เป็นผู้มีเสน่หื มีมิตรภาพ

ได้เรียนรู้ชีวิตและเข้าใจชีวิตมากขึ้น

มองโลกในแง่ดี

ได้ช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์

เทคนิคการให้คำปรึกษา

การสรุปความ

การทำให้กระจ่าง

การให้ความมั่นใจ และการให้กำลังใจ

การสะท้อนความรู้สึก

การทบทวนคำพูด

การถาม

การฟัง

ขั้นตอนการให้คำปรึกษา

5 ยุติการให้คำปรึกษา

4 วางแผนแก้ใขปัญหาร่วมกัน

3 เข้าใจปัญหา เลือกใช้เท๕นิคการให้คำปรึกษา

2 สำรวจปัญหา

1 สร้างสัมพัธภาพ

คุณสมบัติของผู้ให้คำปรึกษา

ใช้คำพูดได้เหมาะสม

ช่างสังเกต

มีท่าทีเป็นมิตร

จริงใจ + ตั้งใจช่วยเหลือผู้อื่น

อดทน ใจเย็น

รู้จัก + ยอมรับตนเอง

เป็นผู้รับฟังที่ดี

บริการสนเทศ

Facebook

แผ่นพับ

การทำวารสาร

การจัดป้ายนิเทศน์

จัดห้องสมุดอาชีพ

บริการสำรวจหรือศึกษานักเรียนเป็นรายบุคคล
ประเภทของการแนะแนว
การแนะแนวส่วนตัวและสังคม
การแระแนวอาชีพ
การแนะแนวการศึกษา
ความมมุ่งหมายของการแนะแนว
เพื่อส่งเสริมพัฒนา
เพื่อแก้ใขปัญหา
เพื่อป้องกันปัญหา
หลักการที่สำคัญของการแนะแนว
เก็บรักษาความลับได้
เกิดจากความร่วมมือเต็มใจ ไม่ใช่การบังคับ
เคารพในสิทธิและเสรีภาพของบุคคลแต่ละคน
ยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคล
การทำอย่างเป็นกระบวนการต่อเนื่อง อย่างเป็นระบบ
มุ่งให้ความช่วยเหลือนักเรียนทุกคน
ปรัชญาของการแนะแนว
บุคคลเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าสูง
บุคคลย่อมมีปัญหา
บุคคลเป็นสิ่งมีค่าและศักยภาพประจำตัว
พฤติกรรมทุกอย่างของบุคคลย่อมมีสาเหตุ
บุคคลมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
บุคคลมีความแตกต่างกัน
ความหมาย
การชี้ช่องทางหรือการนำทาง

จิตวิทยาการศึกษา

การจัดการห้องเรียน
ห้องเรียนมีชีวิต
วิธีปฎิบัติต่อผู้เรียนที่กระทำผิด
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
ความแตกต่างระหว่างวัย

ผู้เรียนวัยผู้ใหญ่

ผู้เรียนวัยรุ่น

ผู้เรียนวัยเด็ก

ความแตกต่างทางด้านสติปัญญา

การเรียนการสอนแบบร่วมมือ

การแบ่งกลุ่มตามระดับความสามรถทางสมอง

ความแตกต่างระหว่างบุคคลด้านร่างกาย

รูปร่างอ้วนเตี้ย

รูปร่างสมส่วน

รูปร่างผอมบาง

สาเหตุที่ทำให้บุคคลแตกต่างกัน

สิ่งแวดล้อม

พันธุกรรม

การจูงใจ
ปัจจัยที่ทำให้ผูเรียนเกิดการตูงใจในการเรียน

เนื้อหาสาระ

ผู้สอน

ชั้นเรียน

แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการจูงใจ

แนวคิดทฤษฎีกลุ่มการเรียนรู้ทางสังคม

แนวคิดทฤษฎีกลุ่มปัญญานิยม

แนวคิดทฤษฎีกลุ่มมนุษยนิยม

แนวคิดทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม

หมายถึง สภาวะในของบุคคลที่ปลุกเร้าและกำหนดทิศทางของพฤติกรรมตลอดจนทำให้บุคคลมุ่งมั่นในการทำพฤติกรรมใดพฤติกรรมหนึ่ง

การจูงใจภายนอก

การจูงใจภายใน

การปรับพฤติกรรม
การปรับพฤติกรรมนิยมตามแนวความคิดของกลุ่มมนุษย์นิยม

การแก้ปัญา

การฟังอย่างเข้าใจและเห็นอกเห็นใจ

การสร้างสัมพัธภาพที่ดีระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน

การปรับพฤติกรรมนิยมตามแนวความคิดของกลุ่มพฤติกรรมนิยม

พฤติกรรมที่ไม่พึ่งประสงค์

พฤติกรรมที่พึ่งประสงค์

ประเภทของเด็กมีปัญหาที่พบบ่อย

เด็กที่ขาดความเชื่อมั่นและเด็กขี้อาย

เด็กที่ชอบก่อกวนชั้นเรียน

เด็กเจ้าอารมณ์

เด็กซนผิดปกติ

เด็กก้าวร้าว

การปรับพฤติกรรมในชั้นเรียน

กลุ่มมีปัญหา

กลุ่มเสี่ยง

ปลุ่มปกติ

ความสำคัญของจิตวิทยาต่่ออาชีพครู
ช่วยให้ครูทราบถึงหลักการสอนและวิธีสอนที่มีประสิทธิภาพ
ช่วยให้ครูทราบหลักการแบะทฤษฎีการเรียนรู้
ช่วยครูในการเตรียมการสอน วางแผนการเรียน
ช่วยให้ครูทราบถึงตัวแปรต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้
ช่วยให้ครูรู้จักวิธีจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียน
ช่วยให้ครูมีความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างบุคคล
ช่วยให้ครูมีความเข้าใจพัฒนาการในด้านต่างๆ ของผู้เรียน
ช่วยครูให้รู้จักลักษณะนิสัยของผู้เรียน

จิจวิทยาการเรียนรู้

ปัจจัยที่ส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้
ปัจจัยด้านจิตวิทยา
ปัจจัยด้านกายภาพ
ทฤษฎีการเรียนรู้
กลุ่มการเรียนรู้ทางสังคมของบันดูรา

สภาพแวดล้อม

ปัญญาและองค์ประกอบส่วนบุคคล

พฤติกรรม

กลุ่ม Gestalt

การรับรู้

การหยั่งรู้

กลุ่มมนุษยนิยม

แนวคิดของคอมบ์ส

ช่วยให้เด็กพัฒนาไปได้เต็มศักยภาพของเขา

ช่วยให้เด็กเกิดความภาคภูมิใจและเอกลักษณ์ของตนเอง

เชื่อในความสามารถ ยอมรับในความแตกต่างของเด็ก

เข้าใจโลกการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคน

แนวคิดของโรเจอร์ส

การเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการ

การมีส่วนร่วม

การประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง

การเลือกและวางแผนด้วยตนเอง

การเรียนรู้ด้วยการปฎิบัติ

มนุษย์จะเรียนรู้ได้ดีถ้าทราบว่ามีประโยขน์

มนุษย์ทุกคนมีความสามารถในการศึกษาหาความรู้

กลุ่มพฤติกรรมนิยม

การทดลองของสกินนเอร์

การทดลองของวัตสัน

วัตสันเชื่อว่าการวางเงื่อนไขสามารถเปลี่ยนพฤติกรรมมนุษย์ได้

การทดลองของธอร์นไดค์

กฎของความพร้อม

กฎของการฝึกฝน

กฎของความพึ่งพอใจ

การทดลองของพาฟลอฟ

การวางเงื่อนใขแบบผู้เรียนเป็นผู้กระทำ

การเรียนรู้แบบการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก

องค์ประอบสำคัญของการเรียนรู้
สภาพการณืที่จะก่อให้เกิดการเรียนรู้
ความเหนื่อยล้าจากการเรียนรู้
ความตั้งใจ
แรงจูงใจในการเรียนรู้
การจำการลืม
ระดับสติปัญญา
สมองและระบบประสาท