Knowledge society Era

Knowledge society

Definition of knowledge society

สังคมความรู้ หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จากความรู้ที่มีบุคลากรทางานโดยใช้ทักษะและความรู้สูง

กระบวนการจัดการความรู้ (Processes of Knowledge)

1.การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะทาอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย โดยจะคัดเลือก

2.การสร้างและแสวงหาความรู้ ซึ่งสามารถทาได้หลายทาง

3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมสาหรับการเก็บ

4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้

5.การเข้าถึงความรู้ เป็นการทำให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่าย

6.การจัดการความรู้ในองค์กรการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ ซึ่งจะแบ่งได้ สองกรณีได้แก่ Explicit Knowledge และ Tacit Knowledge

7.การเรียนรู้ เช่น การเรียนรู้จากสร้างองค์ความรู้

ลักษณะแห่งการเรียนรู้

ไม่จากัดขนาดและสถานที่ต้ัง

เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก

ประชาชนได้รับโอกาสการพัฒนา

สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ

มีกลุ่มภาคประชาชนเป็นแกนกลาง (Core Groups) เพื่อรวมตัวกันจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน

มีการพัฒนานวัตกรรมและระบบการเรียนรู้

มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดาเนินการอย่างต่อเนื่อง

การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยู่ตลอดเวลา

สถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนแห่งการเรียนรู้

ความรับผิดชอบเป็นหน้าที่ของบุคคลและชุมชนร่วมกัน

ทุกคนเป็นครูและผู้เรียน

Knowledge

ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เก่ียวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออก จากกันได้

ข้อมูล

1) ข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจานวน (Numeric Data) เป็นข้อมูลตัวเลข ที่สามารถ นามาบวก ลบ คูณ หารได้

2) ข้อมูลตัวอักษรหรือข้อมูลที่เป็นข้อความ (Text Data) เป็นข้อมูลที่ไม่สามารถนามา คานวณได้

3)ข้อมูลกราฟิก (Graphical Data) เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการสร้างภาพกราฟิก เ

4) ข้อมูลภาพลักษณ์ (Image Data) เป็นข้อมูลที่เกิดจากการถ่ายภาพกล้องดิจิตอล หรือ การสแกนเอกสารด้วยเครื่องสแกนเนอร์

5) ข้อมูลเสียง (Voice Data) คือ เสียงต่างๆ ได้แก่ เสียงสั่งงานคอมพิวเตอร์ หรือ เสียงพูด เสียงท่ีบันทึกไว้ฟัง เป็นต้น

สรุปได้ว่า ข้อมูล คือ กลุ่มของสัญลักษณ์ ข้อเท็จจริง ตัวเลข ข้อความ ภาพ และเสียงที่ยังไม่ผ่านกระบวนการประมวลผลวิเคราะห์หรือสังเคราะห์เพื่อนาไปใช้ประโยชน์

สารสนเทศ

สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ต่างๆ ที่ผ่านการประมวลผลแล้วและสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้

ความรู้

ความรู้ หมายถึง ความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือสิ่ง บางสิ่ง ซึ่งอาจจะรวมไปถึงความสามารถในการนาสิ่งน้ันไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ โดยอาศัย
กระบวนการที่แปรผลมาจากข้อมูล สารสนเทศ การศึกษา ประสบการณ์

ประเภทรูปแบบความรู้ (Type of Knowledge)
ประเภทของความรู้มีหลายลักษณะ สามารถแบ่งความรู้ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ

1) Tacit Knowledge ความรู้ที่ซ่อนอยู่ในแต่ละบุคคลหรือความรู้ท่ีซ่อนเร้น เป็น ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ ความเช่ียวชาญหรือสัญชาติญาณ

2) Explicit Knowledge ความรู้ที่เด่นชัดหรือความรู้ที่บันทึกไว้ เป็นความรู้ที่สามารถ รวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ

ประเภทของความรู้ออกเป็น 4 ระดับ

1) ความรู้เกี่ยวกับสิ่งรอบตัวเรา ซึ่งสามารถรับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้า

2) ความรู้ด้านภาษา ซึ่งจะทำให้อ่านและเขียนหนังสือได้ ฟังเข้าใจ

3) ความรู้ด้านวิชาการ เป็นความรู้ที่เกิดจากการศึกษาเล่าเรียน

4) ความรู้ใหม่ คือ ความรู้ที่ไม่เคยมีมาก่อน เป็นความรู้ที่เกิดจากการค้นคว้า

First Era
เป็นยุคที่ความรู้และพลังยุด้วยกัน ยุคนี้นักวิชาการ จะมีบทบาทในความรู้ ในการจัดการ ใช้พลัง และพัฒนาความรู้ ซึ่งมีความสามารถ 5 ด้าน

Knowledge Access การเข้าถึงความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ

Knowledge Validation การประเมินความถูกต้องของความรู้

Knowledge Valuation การตีค่า การตัความรู้

Knowledge optimization การทาความรู้ให้ง่ายที่จะใช้

Knowledge Dissemination การกระจายความรู้

Second Era
เป็นสังคมความรู้ที่ประชาชนทุกคนมีบทบาทร่วมกัน และมีความอิสระ และพึ่งตนเอง มีลักษณะสำคัญ 4 ข้อ

มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

มีการถ่ายโอนความรู้ภายในสังคม

มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม

มีการประยกต์ความรู้มาใช้ในสังคม