การสืบค้นสารสนเทศิ
และความรู้
rเครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ หมายถึง เครื่องมือและรวมถึงอุปกรณ์ต่างๆ ที่อ านวยความ สะดวกแก่ผู้ใช้ในการสืบค้นรายการสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างรวดเร็วทันความต้องการ โดยทั่วไปเครื่องมือสืบค้นสารสนเทศที่มีการใช้กันแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ การสืบค้น สารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์การสืบค้นสารสนเทศด้วยฐานข้อมูลออนไลน์และ การสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต
1.1การใช้ And, Or, Not ประกอบเป็นประโยคการค้น
1.2 การใช้เทคนิคตรรกบูลลีนจากเมนูทางเลือก (Drop down menu)
1.3 การใช้เครื่องหมาย + (Plus) หรือ – (Minus)
2.1 การใช้เครื่อง กลไกส่วนใหญ่ใช้เครื่องหมาย * (asterisk) แทนการตัดค าส่วน
ใหญ่เป็นการตัดท้ายค าค้นที่ต้องการ
2.2 การสืบค้นในลักษณะของ Stemming
3. เทคนิคการใช้ค าใกล้เคียง โดยใช้ค าว่า ADJ, NEAR, FAR และ BEFORE ประกอบ
เป็นประโยคการค้น เพื่อก าหนดลักษณะของผลการสืบค้นที่ต้องการว่าต้องการให้มี
ค าใด อยู่ในลักษณะใด
3.1 ADJ หมายถึง ให้ค าที่ค้นอยู่ใกล้กัน สลับล าดับค าได้
3.2 NEAR หมายถึง ให้ค าที่ค้นอยู่ใกล้เคียงกันในระยะ 25 ค า สลับที่ได้
3.3 FAR หมายถึง ให้ค าค้นอยู่ห่างกันได้ 25 ค า หรือมากกว่านั้น
3.4 BEFORE หมายถึงให้ค าค้นอยู่ห่างกันในระยะ 25 ค า โดยต้องอยู่ตามล าดับที่ก าหนดเท่านั้น
4. เทคนิคการใช้รหัสก ากับค าค้น
4.1 สืบค้นจากเมนูทางเลือก (Drop down menu)
4.2 สืบค้นโดยใช้เขตข้อมูลก ากับลงในประโยคการค้น
5.1 เทคนิคการค้นด้วยเครื่องหมายค าพูด “…..” (Exact phrased search)
5.2 เทคนิคการค้นหาค าพ้องความหมาย (Synonyms)
5.3 เทคนิคการค้นกลุ่มค าหรือค าที่ไม่แน่ใจด้วยเครื่องหมาย * (Wildcard)
5.4 เทคนิคค้นหาช่วงชุดของตัวเลข (Number range)
5.5 เทคนิคการหานิยามหรือความหมายของค า (Definition)
5.6 เทคนิคการกรองสิ่งที่ค้นหา (SafeSearch Filtering)
5.7 ควรใช้ค าที่หลากหลายและไม่ควรใช้ค าที่ค้นหาเกิน 32 ค า
องค์ประกอบของกลไกการสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต (Search Engine)
1) ตัวส ารวจหรือรวบรวมข้อมูล (Spider หรือ Crawler หรือ Robot)
2) ตัวดรรชนี (Indexer) หรือ Catalog
1. การสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมออนไลน์(Online Public Access Catalog)
rเป็นรูปแบบหนึ่งของเครื่องมือช่วยค้นทรัพยากรสารสนเทศ ของห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศซึ่งปรับเปลี่ยนจากรูปแบบบัตรรายการในตู้บัตรรายการมาเป็น ระเบียนบรรณานุกรมในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมีชุดค าสั่งการสืบค้นที่ใช้ง่าย สะดวก มีรายการ ทางเลือกของขั้นตอนการท างานอยู่หน้าจอ ผู้ใช้เพียงปฏิบัติตามค าสั่งหรือค าแนะน าที่ปรากฎ จากนั้นจะสามารถสืบค้นข้อมูลได้บางห้องสมุดได้ออกแบบ OPAC ให้มีลักษณะเป็นกราฟิก (Graphic User Interface-GUI) เพื่อการใช้ที่ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้นส าหรับผู้สืบค้น และสามารถ เข้าสืบค้นได้โดยผ่านทางอินเทอร์เน็ต ดังนั้นจึงมักเรียก OPAC ที่มีลักษณะดังกล่าวนี้ว่า Web Pac การสืบค้นสารสนเทศจาก OPAC ผู้สืบค้นมีทางเลือกในการสืบค้นหลายทาง เช่น ชื่อผู้ แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง ค าส าคัญ เลขเรียกหนังสือ เป็นต้น ซึ่งผู้สืบค้นทราบข้อมูลส่วนใด ก็เพียง เลือกทางเลือกในการสืบค้น และพิมพ์ค าค้นลงไป ระบบจะด าเนินการสืบค้น เมื่อพบรายการที่ ต้องการ ระบบจะแสดงผลออกมา นอกจากนี้ผู้สืบค้นสามารถใช้เทคนิคการสืบค้นขั้นสูง เช่น ตรรกบูลีน หรือการจ ากัดการค้นด้วยเขตข้อมูล เข้ามาร่วมในการสืบค้นได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับโปรแกรม ที่ห้องสมุดแต่ละแห่งเลือกใช้ซึ่งมีค าแนะน าขั้นตอนและวิธีการสืบค้นจะปรากฏบนหน้าจอเสมอ ผู้ใช้เพียงท าตามค าแนะน าที่บอกให้ไปตามล าดับ
1.2 ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นด้วย OPAC
1.1 วิธีการสืบค้นโดยใช้ทางเลือกต่างๆ ใน OPAC
2. การสืบค้นสารสนเทศด้วยฐานข้อมูลออนไลน์
2.1 ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศบอกรับเป็นสมาชิก
rคือฐานข้อมูล ออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศนั้นๆ บอกรับหรือซื้อฐานข้อมูลนั้นมาให้บริการกับผู้ใช้โดยมี การจ ากัดระยะเวลาในการใช้นั้นคือจะสามารถใช้ฐานข้อมูลได้ในระหว่างเป็นสมาชิกของฐานข้อมูล นั้นในระยะเวลาที่ก าหนด ตัวอย่าง ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์บอกรับเป็นสมาชิกพร้อมขอบเขตเนื้อหา
2.2 ฐานข้อมูลส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือ ฐานข้อมูล ThaiLIS
r เป็นฐานข้อมูลที่ส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ โค รงก าร Thai Library Integrated System เช่ าใช้ ฐ าน ข้อมู ล วิช าก ารโด ยมีส านั กงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษารับผิดชอบค่าใช้จ่าย เพื่อให้มหาวิทยาลัยของรัฐร่วมกันใช้บริการ สืบค้นสารสนเทศ ภายใต้ฐานข้อมูลต่างๆ ด
2.3 การสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต
rอินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งรวบรวมเว็บไซต์ซึ่งเก็บข้อมูลต่างๆไว้มากมาย แต่ละเว็บไซต์จะมี ชื่อโดเมน (Domain name) ที่ไม่ซ้ ากัน และมีมากกว่า 45 ล้านชื่อในโลก โดยเรียกคอมพิวเตอร์ที่ จัดเก็บ และคอยให้บริการข้อมูลของเว็บไซต์ว่าเว็บเซิร์ฟเวอร์(Web Server) หรือเว็บไซต์โดย รายละเอียดและตวัอยา่ งการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ปรากฎในภาคผนวก ก2 8 อาศัยโปรแกรม Web Browser (เช่น Internet Explorer, Netscape, Opera หรือ Firefox เป็น ต้น) ซึ่งเว็บไซต์ทั่วโลกได้จัดเก็บเว็บเพจไว้ถึงพันล้านเว็บเพจ โดยมีสารสนเทศที่เป็นข้อความ ตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง โดยสามารถที่เชื่อมโยงไปยังเอกสารหรือข้อมูลอื่น ๆ ได้โดยตรง ดังนั้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตได้ให้ประโยชน์แก่ผู้ใช้ในด้านต่างๆ มากมาย เช่น เพื่อ การค้นหาข้อมูลข่าวสารในเรื่องที่ต้องการ เพื่อมีส่วนร่วมในการอภิรายโต้ตอบ และแสดงความ ความคิดเห็นกับบุคคลที่อยู่ในสาขาวิชาชีพเดียวกัน หรือมีความสนใจในเรื่องเดียวกัน และเพื่อ ติดตามข่าวคราวความเคลื่อนไหวต่างๆ (ศรีอร เจนประภาพงษ์, 2542 ; Dochartaigh, 2002) เวิล์ดไวด์เว็บ (World Wide Web หรือ WWW) เป็นบริการหนึ่งบนอินเทอร์เน็ตที่ ให้บริการค้นหาและน าเสนอสารสนเทศซึ่งประกอบไปด้วยเว็บเพจที่เป็นสาระและเป็นประโยชน์ มหาศาล ซึ่งผู้ใช้จึงควรท าความเข้าใจในเนื้อหา (Content) ของเอกสารที่มักปรากฏบน WWW เพื่อที่จะได้น าไปเป็นแนวทางสืบค้นได้ ซึ่งลักษณะเนื้อหาที่มีให้บริการใน WWW
1. ข้อมูลการตลาดส าหรับสินค้า และผลิตภัณฑ์ รวมถึงสื่อโฆษณาต่าง ๆ (Product Information)
2. นามานุกรมของพนักงานของแต่ละหน่วยงาน (Staff Directory)
3. การจัดแบ่งหมวดหมู่ของสิ่งพิมพ์ในสถาบันบริการสารสนเทศ (Library Catalog)
4. ข่าวสารทันสมัย (Current News)
5. ข่าวสารข้อมูลทางราชการ (Governmental Information)
6. การแถลงข่าวแก่สื่อมวลชน (Press Release)
7. บทความที่เลือกสรรเฉพาะ (Selected Article Reprints)
8. ข้อมูลทางด้านบันเทิง ทีวี เกม ภาพยนตร์ เพลง และอื่นๆ