การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ (เบญจพร + ปวเรศ ม. 2/6)

แนวทางปฏิบัติเมื่อพบเนื้อหาไม่เหมาะสม

ปฏิเสธการรับขอมูล

ไม่เปิดดู /โหลดเก็บไว้

ไม่ส่งต่อ ไม่เเชร์ ไม่เผยแพร่

อาจเข้าข่ายผิดกฎหมาย มีโทษจำเเละปรับ

แจ้งครูหรือผู้ปกครองให้ทราบ

รีบแก้ไขให้ไม่เกิดปัญหาตามมา

เเจ้งผู้เกี่ยวข้องที่ดูเเลเว็บไซต์นั้น

จะมีการตรวจสอบเเละแก้ไขเเละดำเนินการกับผู้กระทำผิด

เเจ้งเจ้าหน้าที่รัฐหรือตำรวจ

ให้ประสนงานกับหน่วยงานรัฐที่รับผิดชอบ

ผลกระทบการเผยแพร่ข้อมูลไม่เหมาะสม

ผลกระทบต่อผู้เผยเเพร่

จิตใจ

รุ้สึกสึกผิดกับการกระทำของตนเอง

สังคม

ถูกสังคมลงโทษ ได้รับการประณามหรือเกลียดชังจากสังคม

กฏหมาย

อาจมีความผิดระเบียบ กฏเกณฑ์

ผลกระทบที่ผู้อื่นได้รับจากการเผยเเพร่ข้อมูลที่ไม่เหมาะสม

จิตใจ

เสียใจ รู็สึกอับอาย ไม่ปลอดภัย สูญเสียการยอมรับจากผู็อื่น

สังคม

ครอบครัวเดือดร้อน ถูกประณามจากสังคม

กาารงานเเละงานธุรกิจ

อาจทำให้ถูฏไล่ออกจากงานเพราะเกิดความเข้าใจผิดจากข้อมูลที่ได้รับ

แนวทางการพิจารณาเนื้อหาก่อนการเผยแพร่ข้อมูล

ความเป็นส่วนตัว

อยู๋ภายใต้เงื่อนไขเเละมาตรการ

ความถูกต้อง

ข้อมูลต้องมีความน่าเชื่อถือ

ทรัพย์สินหรือความเป็นเจ้าของ

ต้องรู้ใครเป็นเจ้าของ ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์

การเข้าถึง

เป็นการกำหนด ระบุให้ใครมีสิทธิเข้าถึงได้

พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์

ประกาศใช้ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์
ฉบับที่ 2 เมื่อ พ.ศ.2558

คำนิยาม

ข้อมูลบริหารลิขสิทธิ์

มาตตราการทางเทคโนโลยี

การหลบเหลี่ยงมาตราการทางเทคโนโลยี

การคุ้มครองการบริหารลิทธิ์

มาตรา 53/1
การลบ/เปลี่ยนแปลง = การละเมิดข้อมูลบริหารสิทธิ

มาตรา 53/2
นำงานลบ/เปลี่ยนแปลงที่มีลิขสิทธิ์มาเผยแพร่จำหน่าย = มีความผิดบริการสิทธิ

มาตรา 53/3 ข้อยกเว้น
ลบ/เปลี่ยนแปลงข้อมูลข้อมูลได้ถ้าเกี่ยวกับความมั่นคงของชาติ
หรือสถานศึกษานำข้อมูลไปใช้โดยไม่หวังผลกำไร

การคุ้มครองมาตราการทางเทคโนโลยี

มาตรา 53/4
ละเมิดการหลบเลี่ยง เช่น การเเฮกรหัสเพื่ออ่านบทความในเว็บไซต์

มาตรา 53/5 ข้อยกเว้น
การละเมิดมาตราการทางเทศโนโลยีส่วนใช้ในการศึกษา/การวิจัย

ข้อจำกัดความรับผิดชอบผู้ให้บริการทางอินเทอร์เน็ต

มาตรา 32/2 วรรคสอง
- ผู้ให้บริการอื่นเข้าอินเทอร์เน็ต เช่น True AIS TOT
- ผู้ให้เก็บข้อมูล/บริการ เช่น
YouTube Fasebook
ถ้ามีหลักฐานการละเมิดสิทธิ์ในระบบคอมพิวเตอร์
*เจ้าของลิขสิทธิ์อาจฟ้องศาลให้ผู้บริการระงับการละเมิดลิขสิทธิ์*

การระงับใบซื้อสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา

มาตรา 32/1
- นาย ก เขียนหนังสือ เเล้วนาย ข ซื้อหนังสือไปอ่าน
เมื่ออ่านจนเบื่อจึงขายให้นาย ค ไม่ถือเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์
- เเต่ถ้าหากนำหนังสือมาคัดลอก/ดัดเเปลง
เป็นของตนเองเเล้วขายต่อเป็นการละเมิ
ดลิขสิทธิ์

ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์การทำซ้ำชั่วคราว

มาตรา 32/2
ซื้อหนังสือ E-book เเล้วโหลดไว้ในเครื่อง ถือเป็นการทำซ้ำ
*เเต่ไม่ถือเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ เพราะได้ผ่านการซื้อโดยชอบธรรมแล้ว*

สิทธิทางศิลธรรมของนักเเสดง

มาตรา 51/1
นักแสดงถือว่าเป็นนักเเสดงในการเเสดงการเเสดงของตนเเละ
มีสิทธิห้ามให้ผู้อื่นทำซ้ำ/ดัดเเปลงในการเเสดงนั้น เมื่อถึงแก่ความตาตายเเล้วทายาทของนักเเสดงมีสิทธิ์ในการเเสดงนั้นตลอดดารใช้สิทธิของนักเเสดง

การเพิ่มค่าเสียหายในเชิงการลงโทษ

มาตรา 64/2 วรรคสอง
ศาลมีอำนาจสั่งให้ผู้ละเมิดลิขสิทธิ์ จ่ายค่าเสียหายไม่เกิน 2เท่า

การเพิ่มอำนาจให้ศาล

มาตรา 75
เพิ่มอำนาจให้ศาลในคดีอาญาให้มีอำนาจในการยึด สั่งไม่ให้ใช้/ทำลาย
โดยให้ผู้ละเมิดสิทธิเป็นผู้จ่าย เพื่อป้องกันไม่ให้มาหมุนเวียนในระบบเชิงพาณิชย์

มารยาทในการติดต่อสื่อสาร

มารยาทในการใช้อีเมล

ใช้ภาษาสุภาพ ชัดเจน ตรงประเด็น เมาะสมับกาลเทศะหรือผู้ที่จะสื่อสารด้วย

ใช้อักษรตัวหนาเฉพาะข้อความที่ต้องการเน้นเท้านั้น

ระบุหัวเรื่อง ชื่อผู้ที่จะสื่อสารด้วย และระบุตัวตนของผู้ส่งอีเมลให้ชัดเจน

ระบุชื่อหรือตำแหน่งของผู้ที่จะสื่อสารให้ถูกต้องและเหมาะสม

เนื้อหาในอีเมลไม่ควรมีข้อความแสดงถึงเจตนาไปในทางเสื่อมเสีย

หลีกเลี่ยงการส่งอีเมลและการแนบไฟล์ที่มีขนาดใหญ่ให้ใช้การส่งลิงก์หรือโปรแกรมในการโอนถ่ายไฟล์แทน

มารยาทในการเข้าใช้เเชทเเละเครื่อข่ายสังคม

ไม่ใช้ข้อความให้เกิดปัญหา

หลีกเลี่ยงการใช้อารมณ์ความรู้สึกมากในการอ่านหรือเเสดงความคิดเห็น

ไม่สวมรอย แอยอ้างเป็นบุคคลอื่นในการเเชท

การสร้างและแสดงสิทธิ์ความเป็นเจ้าของผลงาน

ตัวอย่าง

สามารถนำข้อมูลไปใช้เพื่อการศึกษาได้ แต่ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา

หากบันทึกภาพไปใช้ จะต้องทำการบันทึกให้เห็นส่วนที่แสดงถึงโลโก้ของเจ้าของผลงาน

นำภาพไปใช้ในสื่อสิ่งพิมพ์ได้ แต่ต้องสำเนาไม่เกิน 5,000 ฉบับ