เอกสารอ้างอิงและบรรณานุกรม

ความหมาย

การบอกแหล่งที่มาของข้อมูลที่ผู้เขียนนำมาใช้
อ้างอิงในการเขียนผลงาน

อ้างอิงในส่วนเนื้อเรื่อง

อ้างอิงเอกสารส่วนท้ายเรื่องหรือท้ายรายงาน

บรรณานุกรม

รายชื่อเอกสารที่ผู้เขียนใช้ศึกษาค้นคว้าในการเรียบเรียงรายงานเรื่องนั้นๆ

เอกสารอ้างอิง

รายชื่อเอกสารที่ผู้เขียนใช้ศึกษาค้นคว้าในการเรียบเรียงรายงานเรื่องนั้นๆและเป็นเอกสารที่ได้เขียนรายการอ้างอิงไว้ในส่วนเนื้อเรื่องเท่านั้น

ตัวอย่างบรรณานุกรมหรือรายการอ้างอิงท้ายเล่ม

David, E. (2010). Internet Use for Studying. Retrieved September
30, 1999, from http://www.ddd.ac.th

ศรีอร เจนประภาพงศ์. (2542).แหล่งสารสนเทศเพื่อบริการอ้างอิง.กรุงเทพ : ภาควิชา บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.(เอกสารอัดสำเนา)

ข้อสังเกต : เรียงตามตัวอักษร ภาษาไทยก่อนภาษาต่างประเทศ

การเขียนบรรณานุกรมท้ายเล่มเอกสารหรือรายงาน

บรรณานุกรมสำหรับหนังสือทั่วไป (General Books)

การโจรกรรมทางวรรณกรรมผลงานของตนเอง

ความหมาย

การนำเอางานส่วนใหญ่หรืองานทั้งหมด หรือ เกือบทั้งหมดของตนเองมาทำเป็นงานใหม่โดยไม่แจ้งให้ชัดเจน บทความ ส่วนใหญ่มักเป็นบทความตีซ้ำ

แนวทางหลีกเลี่ยง

แสดงข้อเท็จจริงทั้งหมด อ้างไว้ในบทรำ

อ้างอิงงานเดิมไว้ในอ้างอิงหรือบรรณานุกรมท้ายงานใหม่

การลงชื่อผู้แต่ง

หนังสือที่มี
ผู้แต่ง 2 คน

ใช้คำว่า และ หรือ and เชื่อม

หนังสือที่มี
ผู้แต่ง 3-6 คน

ระบุชื่อคนแรกไปจนถึงคนที่ 5
จึงเชื่อมด้วยคำว่า และ

หนังสือที่มี ผู้แต่งมากกว่า 6 คน

ระบุชื่อคนที่ 1-6 จากนั้นให้ใช้คำว่าและคณะ หรือ และคนอื่นๆ(ภาษาอังกฤษ and others)

หนังสือที่ผู้แต่ง
เป็นนิติบุคคล

เว้นวรรคจากหน่วยงานใหญ่คั่นด้วย
เครื่องหมาย . ตามด้วยหน่วยงาน
ย่อย

หนังสือที่ผู้แต่ง
ใช้นามแฝง

ถ้าทราบชื่อจริงให้วงเล็บต่อท้าย

ถ้าไม่ทราบให้วงเล็บไว้ว่า นามแฝง

การลงปีที่เป็น

ให้ระบุเฉพาะตัวเลข ไว้ในเครื่องหมาย ( ) เสมอ

ถ้าไม่ปรากฏปี พิมพ์ให้ใส่ ม.ป.ป. หมายถึง ไม่ปรากฏ ปี พิมพ์หรือ n.d.
หมายถึง no date แทน โดยใส่ไว้ในเครื่องหมายวงเล็บ [ ]

การลงชื่อหนังสือหรือชื่อเรื่อง

ชื่อเรื่องมีทั้งภาษาไทยและภาาาอังกฤษให้ใส่เฉพาะภาษาไทย

เรื่องราวต่างๆ เกี่ยวกับประเทศไทย

ชื่อหนังสือที่เขียนเป็นภาษาไทยแต่ชื่อเรื่องเป็นภาษาอังกฤษให้ถอดคำเป็นภาษาไทยก่อนแล้วจึงใส่ชื่อภาษาอังกฤษไว้ในวงเล็บ

อินเทอร์เน็ต (Internet)

การลงครั้งที่พิมพ์

ใส่ครั้งที่พิมพ์ตั้งแต่ครั้งที่สองเป็นต้นไป

ภาษาอังกฤษให้ใช้ตัวย่อ

การลงสถานที่พิมพ์

ถ้าไม่ปรากฏชื่อเมืองให้ใส่ ม.ป.ท. หมายถึง ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์
หรือ n.p. (no place) แทน โดยใส่ในเครื่องหมาย [ ]

การลงสำนักพิมพ์หรือผู้จัดพิมพ์

ห้ามใส่คำว่า สำนักพิมพ์ หรือ Publisher

ในกรณีที่ไม่ปรากฏชื่อส านักพิมพ์หรือโรงพิมพ์ให้ระบุคำว่า
ม.ป.พ. หรือ n.p. (No Publisher) โดยระบุไว้ในเครื่องหมาย [ ]

การเรียงลำดับบรรณานุกรม

เรียงลำดับตามลำดับอักษรตัวแรกของรายการที่ปรากฎ (ก-ฮ, A-Z)

ถ้ามีภาษาอังกฤษกับภาษาไทยให้เรียงแยกกันโดยให้เรียงภาษาไทยมาก่อนเสมอ

ถ้าเรียงงานหลายงานที่มีชื่อผู้แต่งคนแรกเหมือนกัน โดยใช้หลัก

ให้เรียงรายการที่มีผู้แต่งคนเดียวมาก่อนรายการที่มีหลายคน

ถ้าชื่อผู้แต่งเหมือนกัน ให้เรียงตามอักษรของชื่อต้นและชื่อกลาง

เอกสารผู้แต่งที่เป็นสถาบัน สมาคม หน่วยงาน ให้เรียงตามลำดับอักษรตัวแรกของชื่อสถาบันที่สะกดเต็ม โดยเรียงไปทีละลำดับตั้งแต่หน่วยงานใหญ่ถึงหน่วยงานย่อย

การโจรกรรมทางวรรณกรรมหรือ การขโมยความคิด (Plagiarism)

ความหมาย

ถือเป็น