Knowledge Society Era

สังคมความรู้ยุคที่ 1

นักวิชาการหรือนักวิชาชีพมีบทบาทหลักในการจัดการความรู้

มีความสามารถ 5 ด้าน

Knowledge Access

การเข้าถึงความรู้ทาง Internet หรือ IT

การทำความรู้ให้ใช้ได้ง่าย

Knowledge Validation

ประเมินความถูกต้องของความรู้เนื่องจากความรู้มีทั้งจริงและปลอม

การวิจัยนับว่าเป็นเครื่องมือสำคัญที่บอกว่าความรู้นั้นถูกต้องหรือไม่

Knowledge Valuation

การตีค่า การตีความรู้ว่าเมื่อนำมาใช้แล้วมีความคุ้มค่าหรือไม่

ความรู้ที่ไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้ มีสาเหตุมาจาก

1. ไม่คุ้มค่า แพงเกินกว่าผลประโยชน์

2.ใช้สำหรับสิ่งไม่จำเป็น ฟุ่มเฟือย

3. ปฏิบัติจริงได้ยาก

4.ขัดกับความคิด ความเชื่อ

5.ไม่สร้างความยุติธรรม

Knowledge Optimization

การทำความรู้ให้ง่ายที่จะใช้

เช่น การนำความรู้ออกมาเป็นกฏเกณฑ์ ระเบียบต่างๆ

Knowledge Dissemination

การกระจายความรู้

มีความเป็นมืออาชีพการจัดการความรู้ หรือการพัฒนาความรู้ (Knowledge Management)

ความหมาย

ยุคของสังคมความรู้

แบ่งเป็น 2 ยุค

สังคมความรู้ยุคที่ 1

สังคมความรู้ยุคที่ 2

สังคมความรู้ยุคที่ 2

ทุกภาคส่วนมีบทบาทร่วมกันเป็นเจ้าของ

มีความเป็นอิสระ พึ่งตนเอง

ลักษณะสำคัญของสังคมความรู้ยุคที่ 2

1.มีการสะสมความรู้ภายในสังคม

2.มีการถ่ายโอนความรู้ภายในสังคม

3.มีการสร้างสรรค์ความรู้ใหม่ในสังคม

4.มีการประยุกต์ความรู้มาใช้ภายในสังคม