Evaluate Analysis Synthesis
1ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
-ต้องมีความถูกต้อง
-มีความน่าเชื่อถือ
-ต้องมีความสมบูรณ์
-สอดคล้องกับความต้อการของผู้ใช้
-เข้าถึงได้ง่าย และตรวจสอบได้
-ทันต่อความต้องการใช้
-มีความทันสมัย เป็นปัจจุบัน
2.หลักเกณฑ์ในการพิจารณาสารสนเทศที่ดี
2.1พิจารณาความน่าเชื่อถือ
-ความถูกต้องของสารสนเทศ
เปรียบเทียบเเหล่งที่มาของสารสนเทศ
มีการอ้างอิงและบรรณนุกรม
การเขียน สะกดคำ ตามหลักไวยากรณ์
-ความเที่ยงตรง
พิจารณาเนื้อหาส่วนใดทำให้เกิดความลำเอียง
ผู้แต่งใช้ข้อเท็จจริงสนับสนุนความคิดเห็นหรือไม่
2.2 พิจารณาแหล่งที่มาของสารสนเทศ
-พิจารณาผู้เเต่ง
มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับหรือไม่
มีคุณวุฒิและประสบการณ์ในเรื่องเขียนหรือไม่
มีผลงานเขียนที่เกี่ยวข้องหรือไม่
-พิจารณาสำนักพิมพ์หรือเเหล่งผลิต
ผู้จัดพิมพ์เป็นที่รู้จักกันดีในสาขาวิชานั้นหรือไม่
จัดพิมพ์จำนวนมากหรือน้อยเพียงใด
เป็นโรงพิมพ์ของมหาลัยหรือไม่
2.3 พิจารณาขอบเขตเนื้อหา
-เป็นสารสนเทศที่มีเนื้อหาครบถ้วนสมบูรณ์
-เป็นสารสนเทศที่มีเนื้อหาครอบคลุมหัวข้อเรื่อง
-เป็นสารสนเทศให้ความรู้ในระดับใด
2.4 พิจารณาให้ตรงกับความต้องการ
-ต้องการสารสนเทศที่มีเนื้อหาอย่างไร
-ต้องการสารสนเทศจากเเหล่งใด
-ต้องการใช้สารสนเทศไปทำอะไร
2.5 พิจารณาช่วงเวลาที่เเพร่
-สารสนเทศถูกจัดพิมพ์เผยเเพร์เมื่อใด
-เป็นสารสนเทศที่ทันสมัย จัดพิมพ์เผยเเพร่ใกล้เคียงกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
-ถ้าเป็นสารสนเทศจากอินเตอร์เน็ต
3. การเลือกใช้สารสนเทศ
กระบวนการ 3 ขั้นตอน
1. การประเมินสารสนเทศประเมินผล
2.การวิเคราะห์สารสนเทศ
3.การสังเคราะห์สารสนเทศ
4.การประเมินสารสนเทศ
นิยาม
การตรวจสอบว่าสารสนเทศที่ได้มา สามารถตอบคำถามที่ตั้งไว้อย่างละเอียดครอบคลุมทุกประเด็น
ความสำคัญของการประเมินสารสนเทศ
คัดเลือกสารสนเทศ มีคุณค่า มีความน่าเชื่อถือ
หลักการประเมินสารสนเทศ
-ตรงกับความต้องการ
-มีความน่าเชื่อถือ
-ความน่าเชื่อถือ ผู้เขียน ผู้จัดทำ สำนักพิมพ์
-ทรัพยากรสารสนเทศ
-การประเมินความทันสมัย
1.สารสนเทศปฐมภูมิ
2.สารสนเทศทุติยภูมิ
3.สารสนเทศตติยภูมิ
5.การวิเคราะห์สารสนเทศ
1. อ่านจับใจความสำคัญของเรื่อง
2.พิจารณาเนื้อหาสารสนเทศที่สอดคล้องกับประเด็นเเนวคิดต่าง ๆ ที่ต้องการจะศึกษา
3.บันทึกสารสนเทศสอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการ
4.จัดกลุ่มเนื้อหา
6.การสังเคราะห์สารสนเทศ
1.จัดกลุ่มสารสนเทศที่มีเเนวคิดเดียวกัน
2.นำสารสนเทศที่มีเเนวคิดเดียวกันมาจัดกลุ่มอีกครั้ง
3.นำแนวคิดต่าง ๆ สร้างความสัมพันธ์ในแต่ละกลุ่มของเเนวคิด
-รวบรวมเป็นโครงสร้างใหม่ในรูปของโครงร่าง
4.ประเมินโครงร่างที่ได้ ครอบคลุมครบถ้วน
5.หากครบถ้วน ต้องกลับไปเริ่มที่กระบวนการแสวงหาคำตอบใหม่