วิธีสอนแบบแก้ปัญหา
(Problem Solving Method)

วัตถุประสงค์

1. ฝึกทักษะการสังเกต

การเก็บข้อมูล

การวิเคราะห์ปัญหา

การสรุปผล

2. ฝึกการแก้ไขปัญหา

เพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาที่เกิดในชีวิตจริง

3. ฝึกการคิด

การเชื่อมโยงความรู้ เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นในตนเอง

ขั้นตอนการสอน

ความหมาย

เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน
ให้เรียนรู้ตามกระบวนการโดยเริ่มต้นตั้งแต่มี
การกำหนดปัญหา วางแผนแก้ปัญหา ตั้งสมมติฐาน เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผล

ผู้สอนเป็นผู้เสนอปัญหาหรือผู้สอนและผู้เรียนจะร่วมกัน
กำหนดปัญหาที่มีความสำคัญ

เป็นปัญหาใหม่ที่ผู้เรียนยังไม่เคยประสบมาก่อน
และไม่เกินทักษะทางเชาวน์ปัญญาของผู้เรียน

ผู้เรียนจะเป็นผู้แก้ปัญหา หรือหาคำตอบด้วยตนเอง

วิธีการ

ผู้สอนจะต้องจัดสภาพแวดล้อมหรือบรรยากาศการเรียนรู้
ที่เอื้อต่อการใช้กระบวนการคิดแก้ปัญหา

ผู้สอนจะต้องให้โอกาสผู้เรียนใช้ความคิดและฝึกการแก้ปัญหา
เพื่อให้เกิดคสามชำนาญ จะทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ในการจัดการเรียนรู้แบบแก้ปัญหา

หลักการสำคัญ

ให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง ได้ลงมือกระทำกิจกรรมการเรียนรู้

เน้นทักษะการแสวงหาความรู้ การค้นพบ การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง

มีการจัดบรรยากาศในชั้นเรียนเป็นประชาธิปไตย

นำกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในขั้นตอนการจัดกิจกรรม

ประโยชน์และข้อจำกัด

ประโยชน์

5. ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจจากประสบการณ์ตรง

1. ทำให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียน

2. ผู้เรียนได้ฝึกคิดและแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง

การสังเกต

วิเคราะห์

หาเหตุผล

ใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ

3. ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการทำงานร่วมกับการทำกิจกรรมกลุ่ม

4. ผู้เรียนได้ฝึกการค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ทำให้ได้รับประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลาย

ข้อจำกัด

3. ผู้เรียนต้องมีทักษะในการค้นคว้าหาข้อมูล

4. ผู้สอนจะต้องมีความสามารถในการช่วยแนะนำหรือหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาให้กับนักเรียน

5. ความสามารถของผู้เรียนมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับสติปัญญา ความรู้ ประสบการณ์ แรงจูงใจ และอารมณ์

2. ปัญหาต้องมีความน่าสนใจเหมาะสมกับวัย

1. ต้องใช้เวลาในการเรียนู้ค่อนข้างมาก

ขั้นตอนการสอน

ขั้นตั้งสมมติฐาน

เป็นการคาดคะเนคำตอบ โดยใช้ความรู้และประสบการณ์

ใช้เหตุผลในการคิดวิเคราะห์และคาดคะเนคำตอบ

พิจารณาแยกปัญหาใหญ่เป็นปัญหาย่อย
คิดอย่างเป็นระบบ

แนวทางการคิดเพื่อตั้งสมมติฐาน
เช่นปัญหานั้นมีสาเหตุมาจากอะไร หรือปัญหานี้แก้ไขได้โดยวิธีใด

ขั้นวางแผนปัญหา

ขั้นที่มีการวางแผน หรือออกแบบวิธีการหาคำตอบ
จากสมมติฐานที่ได้ตั้งไว้

ใช้เหตุผลในการคิดหาวิธีการแก้ปัญหาให้ตรงกับสาเหตุ

ใช้วิธีแก้ปัญหาที่ดีที่สุดเป็นไปได้มากที่สุด

ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล

เป็นขั้นที่ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าความรู้จากแหล่งต่าง ๆ

เช่นห้องสมุด

อินเทอร์เน็ต

ตำราเรียน

การสังเกต

การทดลอง

ใช้วิธีการจดบันทึกข้อมูลอย่างเป็นระบบ
เพื่อนำมาทดสอบสมมติฐาต

ขั้นกำหนดปัญหา

- ปัญหาที่มาจากความสนใจของผู้เรียน
หรือปัญหาที่มาจากบทเรียน

- ปัญหาที่เกี่ยวกับสังคมที่พบเห็น
จากสภาพแวดล้อมของตัวผู้เรียน

- ปํญหาที่เกิดจากประสบการณ์ของผู้เรียน
ได้แก่ ปัญหากฎหมาย ปัญหาชีวิต ปัญหาสิ่งแวดล้อม

ตั้งคำถามให้ผู้เรียนเกิดข้อสงสัย เช่นการใช้คำถาม
การเล่าประสบการณ์หรือการสร้างสถานการณ์ให้เกิดปัญหา

ขั้นสรุปผล

เป็นขั้นที่นำข้อมูลมาพิจารณาแปลความหมาย
ระหว่างสาเหตุกับผลที่เกิดชึ้น

สรุปในรูปของหลักการที่จะนำไปอธิบายเป็นคำตอบหรือวิธีแก้ปัญหา

เมื่อได้ข้อสรุปแล้วควรนำมาพิจารณาตรวจสอบอีกครั้ง

ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล

นำมาพิจารณาว่าน่าเชื่อถือประการใด
เพื่อนำไปวิเคราะห์และทดสอบสมมติฐานที่ตั้งไว้

ผู้สอนและผู้เรียนอาจร่วมกันตั้งปัญหา