สถิติพื้นฐานเพื่อการวิจัย
(Basic Research and Data collection)

คำจำกัดความ

คำว่าสถิติ (Statistics) มาจากภาษาเยอรมัน "Stat"
หมายถึง ข้อมูลหรือสารสนเทศ

สถิติ หมายถึง ตัวเลขหรือข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม
เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "ข้อมูลทางสถิติ(Statistical data)"

สถิติ หมายถึง ตัวเลขแทนปริมาณจำนวนข้อมูล
หรือข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆ

สถิติ หมายถึง ค่าตัวเลขที่เกิดจากการคำนวณมา
จากกลุ่มตัวอย่าง(Sample) หรือคิดมาจากนิยามทางคณิตศาสตร์

ประเภทของข้อมูล

นามบัญญัติ (Nominal Scale)

- การวัดที่หยาบที่สุด จัดข้อมูล
หรือตัวแปรออกเป็นกลุ่ม
-จะนำไป บวก ลบ คูณ หาร กันไม่ได้ในทางสถิติ

เรียงอันดับ (Ordinal Scale)

- ข้อมูลที่ใช้จัดอันดับของสิ่งต่างๆ โดย
เรียงอันดับของข้อมูลตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
จกสูงสุดไปหำต่ำสุด
- ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ

อันตรภาค (Interval Scale)

- ข้อมูลที่บอกถึงความแตกต่างระหว่างค่าที่
วัดได้แต่ละช่วง ที่มีความห่างเท่ากัน สามารถ
บวก ลบ กันได้ แต่ไม่มีศูนย์แท้
- ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน และ สถิชั้นสูงทุกตัว

อัตราส่วน (Ratio Scale)

- เป็นข้อมูลที่ใช้วัดในระดับสูงสามารถบวก ลบ คูณ
หาร ได้ และมีศูนย์แท้
- วิเคราะห์กับสถิติได้ทุกตัว

ประเภทของสถิติ

Descriptive Statistics

สถิติเชิงพรรณนา
- เพื่ออธิบายข้อมูลที่มีอยู่ ไม่ได้นำไปพยากรณ์ประชากร
- ลักษณะที่จะพรรณนาข้อมูล ใช้ตัวอักษรหรือตัวเลข หรือ
ใช้แผนภาพ

Inferential Statistics

สถิติพารามิเตอร์ (Parametric Statistics )
วิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวม มาจากกลุ่มตัวอย่างเพื่ออธิบาย
สรุป ลักษณะบางประการของประชากร มีการนำทฤษฎี
ความน่าจะเป็นมาประยุกต์ใช้

สถิตไร้พารามิเตอร์ (Nonparametric Statistics)
เป็นวิธีการทางสถิติที่สามารถ นำมาใช้ได้โดยปราศจาก
ข้อตกลงเบื้องต้นทั้ง 3 ประการข้างต้น

การใช้สถิติเพื่อการวิเคราะห์ตัวแปรในการวิจัย

การวิเคราะห์สถิติสองตัวแปร (Bivariate)

1) ตัวแปรอิสระและตัวแปรตามเป็นตัวแปรเชิงคุณภาพ

2) ตัวแปรอิสระเป็นตัวแปรเชิงคุณภาพและตัว
แปรตามเป็นตัวแปรเชิงปริมาณ

3) ตัวแปรอิสระและตัวแปรตามเป็นตัวแปรเชิง
ปริมาณทั้งคู่

การวิเคราะห์สถิติหลายตัวแปร
(Univariate และ Multivariate)

วัตถุประสงค์ : เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่ำงหรือความสัมพันธ์
ระหว่างตัวแปร โดยมีตัวแปรอิสระมากกว่าหนึ่งตัว

ข้อพิจารณาการใช้สถิติหลายตัวแปร

กกรจัดการระดับการวัด

การจัดการขนาดของการวัด

สถิติพรรณนาสำหรับตัวแปรเชิงคุณภาพ

ใช้กับข้อมูลที่เก็บจากแบบสอบถาม

ต้องมีการลงรหัสข้อมูลให้เป็นตัวเลข (Coding)

ค่าสถิติเชิงพรรณนาที่สำคัญ : ค่าความถี่
อัตราส่วนร้อยปกติ อัตราส่วนที่ถูกต้อง

ใช้ได้กับข้อมูลประเภทที่มีระดับการวัดแบบช่วง และที่มีการวัดแบบอัตราส่วน

สถิติพรรณนาสำหรับตัวแปรเชิงปริมาณ

สถิติพรรณนาที่ควรนำมาใช้กับตัวแปรเชิงปริมาณ

สถิติพรรณนากับการวิจัย

ช่วยสรุปคุณสมบัติของสิ่งศึกษา

ช่วยสรุปตัวเลขหรือหน่วยจำให้เห็นเป็นรูปธรรม

เหมาะสำหรับการรายงานวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ

ช่วยในการตัดสินใจเบื้องต้น

วัตถุประสงค์โดยทั่วไป

1. พรรณนาคุณสมบัติของหน่วยศึกษา/วิเคราะห์

2. ศึกษาความแตกต่างระหว่างกลุ่มต่างๆ ที่เป็น
เป้าหมำย

3. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร

4. ศึกษาการประมาณค่าหรือการพยากรณ์

ข้อพิจารณำการใช้

ทราบวัตถุประสงค์

ทราบประเภทของสถิติ

รู้ลักษณะของข้อมูลว่ามีการวัดระดับใด

สามารถกำหนดสถานภาพของตัวแปรที่ศึกษาได้

รู้หลักการเบื้องต้น

รู้การนำเสนอ การอ่าน และการตีความหมายผล

หลักการเบื้องต้นที่สำคัญ

1. หลีกเลี่ยงการนำเสนอซ้ำซาก

2. เสนอในรูปแบบมาตรฐานของแต่ละวิธีการหรือ
ที่วงวิชาการยอมรับ

3. แปลผลค่าสถิติต่างๆ ได้ถูกต้อง

4. ตีความหมาย

ตัวแปร

ประเภทตัวแปรตามบทบาท

ตัวแปรอิสระ (Independent Variables)
ตัวแปรที่กำหนดขึ้นเพื่อทดสอบสมมติฐาน
เพื่อจะดูผลที่ตามมา

ตัวแปรตาม (Dependent Variables)
ตัวแปรที่เปลี่ยนไปตามตัวแปรต้น หรือ
ผลของตัวแปรต้น

ตัวแปรควบคุม
ตัวแปรที่ส่งผลต่อการทดลอง อาจทำให้การทดลอง
คลาดเคลื่อน จึงต้องควบคุมเอาไว้

ประเภทของตัวแปรตามระดับของการวัด

ตัวแปรกลุ่ม หรือ นามมาตร หรือ นามกำหนด (Norminal)

ตัวแปรอันดับ (Ordinal)

ตัวแปรช่วงหรืออันตรภาค (Interval)

ตัวแปรอัตราส่วน (Ratio)

การเสนอผลสถิติพรรณนาในรายงานวิจัย

1. เสนอในรูปรายงาน

2. ระบุหมายเลข และชื่อตาราง

3. ไม่ใส่คำที่ไม่ใช่สาระ