ภาวะผู้นำกับการจัดการ
ทฤษฎีภาวะผู้นำ
ทฤษฎีคุณลักษณะของผู้นำ
ด้านกายภาพ สังคมและบุคคลิกภาพ
ความฉลาด
ความสามารถ
แรงจูงใจที่ต้องการ
ทัศนคติด้านมนุษยสัมพันธ์
ทฤษฎีผลกระทบระหว่างบุคคล
และสถานการณ์
ลักษณะของผู้นำต้องมีความสัมพันธ์กับสถานการณ์
สถานการณ์จะเป็นตัวกำหนดลักษณะที่จำเป็นต่อความสำเร็จของผู้นำ
ทฤษฎีปฎิสัมพันธ์และความคาดหวัง
เน้นเรื่องกลุ่มบุคคลเป็นสำคัญ ภาวะผู้นำขึ้นอยู่กับพฤติกรรมของกลุ่ม
ทฤษฎี 3 ปัจจัย
ความต้องการแบบพฤติกรรมและเป้าหมายของกลุ่ม ความสัมพันธ์ต่างๆเป็นตัวกำหนดภาวะของผู้นำ
สถานการณ์
ความคาดหวังของผู้ตาม
แรงจูงใจ
ความหมายของผุ้นำ
ผู้นำ
สามชิกของกลุ่มที่มีอิทธิพลมากที่สุด
ต่อคนอื่นๆในกลุ่ม
หัวหน้า
บุคคลหนึ่งในกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย
ให้มาเป็นผู้นำของกลุ่ม
สถานการณ์กับประสิทธิภาพของภาวะผู้นำ
เฟรด ฟีดเลอร์ แบ่งเป็น 3 สถานการณ์
ที่มีอิทธิพลต่อบทบาทผู้นำ
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้นำกับสมาชิกกลุ่ม
โครงสร้างของงาน
อำนาจของตำแหน่ง
แบบของภาวะผู้นำ
แบบของภาวะผู้นำตามแนวคิดดั้งเดิม
ตั้งเกณฑ์การพิจารณามี 4 แบบ
พิจารณาจากสถาณการณ์
พิจารณาจากลักษณะการทำงาน
พิจารณาจากการใช้อำนาจควบคุม
พิจารณาจากลักษณะและวิธีการใช้อำนาจ
พฤติกรรมของผู้บริหาร
แทนเนนและชมิดท์เชื่อว่า
การตัดสินใจเลือกแบบผู้นำให้เหมาะกับสถานการณ์
แบบภาวะผู้นำตามแนวคิดสมัยใหม่
ภาวะผู้นำแบบสถาบันมิติ-บุคลามิติ
ภาวะผู้นำแบบมุ่งงาน-มุ่งความสัมพันธ์
ภาวะผู้นำแบบให้ความสำคัญต่อคน-ต่อการผลิต
ความหมายของภาวะผู้นำ
แฮโรลด์ คูนตซ์
การสร้างอิทธิพลเพื่อให้เกิดความสำเร็จ
จอร์จ เทอร์รี
กิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างอิทธิพล
เพื่อให้เกิดความพยายาม
กิตติมา ปรีดีดิลก
บุคคลมีอำนาจจูงใจให้คนอื่นปฎิบัติตาม
สมพงษ์ เกษมสิน
การใช้อิทธิพลต่อผู้ใต้บังคับบัญชา
เพื่อบรรลุผลตามเป้าหมาย
สมคิด บางโม
ผู้นำองค์การใช้อิทธิพลให้ผู้ใต้บังคับบัญชา
ร่วมมือกันปฎิบัติในหน้าที่
ผู้นำแบบมุ่งงานและมุ่งความสัมพันธ์
ผู้นำแบบมุ่งงาน
มีความต้องการที่จะให้กลุ่มของตนทำงานลุล่วงอย่างมีประสิทธิภาพ
ผู้นำแบบมุ่งความสัมพันธ์
มีความเห็นใจผู้บังคับบัญชาของตน
เห็นใจ รักใคร่กลมเกลียวสมาชิกในกลุ่ม
ประสิทธิภาพของผู้นำ
ผู้นำแบบมุ่งงาน
ผู้นำแบบมุ่งความสัมพันธ์หรือมุ่งคน