ค่าสถิติในการวิจัย

สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัย

สถิติพื้นฐาน

สถิติวิเคราะห์เพื่อแสดงความหมายทั่วไปของข้อมูล
และใช้เป็นพื้นฐานในการคำนวณสถิติขั้นสูงต่อไป

การแจกแจงความถี่ (frequency)

การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง

ค่าเฉลี่ย (Mean)

มัธยฐาน (Median)

ฐานนิยม (Mode)

การวัดการกระจาย

พิสัย (Range)

ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

ความแปรปรวน (Variance)

สถิติสำหรับการทดสอบสมมติฐาน

เป็นสถิติที่ใช้สำหรับการวิเคราะห์เพื่อทดสอบสมมติฐานว่าเป็นจริงตามที่กำหนดไว้หรือไม่

การทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม

t-test

แควร์(chi-square)

การหาความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป

การหาสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์(correlation)

การพยากรณ์ (regression)

ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
(Arithmetic Mean)

เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์

เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์

เป็นตัวแทนของข้อมูลที่ดีที่สุด เพราะ

เป็นค่าที่ไม่เอนเอียง

เป็นค่าที่มีความคงเส้นคงวา

เป็นค่าที่มีความแปรปรวนต่ำที่สุด

เป็นค่าที่มีประสิทธิภาพสูงสุด

ข้อจำกัด

ถ้าข้อมูลมีการกระจายมาก ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
จะไม่สามารถเป็นค่ากลางหรือเป็นตัวแทนที่ดีของข้อมูลได้

หลักการการหาค่าเฉลี่ย

ทำได้โดยนำค่าทั้งหมดที่มีรวมกัน
แล้วนำมาหารด้วยจำนวนของข้อมูล แบ่งเป็น

ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลไม่แจกแจงความถี่

ค่าเฉลี่ยเลขคณิตแบบแจกแจงความถี่

ค่ามัธยฐาน

เป็นค่ากลางของข้อมูลที่ได้จากการพิจารณาตำแหน่งของข้อมูลที่อยู่ตรงกลางโดยที่ข้อมูลต้องมีการเรียงลำดับจากมากไปน้อยหรือน้อยไปมาก

ขั้นตอนการหาค่ามัธยฐาน

เรียงลำดับข้อมูลจากมากไปน้อย หรือจากน้อยไปมาก

ทำการหาตำแหน่งกึ่งกลางของข้อมูลที่ได้จากขั้นตอนที่ 1

การหาค่ามัธยฐาน เมื่อข้อมูลม่มีการแจกแจงความถี่ ใช้สูตร

การหาค่ามัธยฐาน เมื่อข้อมูลมีการแจกแจงความถี่ ใช้สูตร

ค่าฐานนิยม

เป็นค่ากลางซึ่งจะนำมาใช้ในกรณีที่ข้อมูลมีการซ้ำกันมากๆ จนผิดปกติ

เป็นค่ากลางหรือตัวแทนของข้อมูลที่สามารถอธิบายลักษณะที่เกิดขึ้นได้ดีกว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิต และค่ามัธยฐาน

สามารถใช้ได้กับข้อมูลที่เป็นเชิงคุณภาพ เเละเชิงปริมาณ

สามารถมีค่าได้มากกว่า 1 ค่า

การหาค่าฐานนิยม(Mo) เมื่อข้อมูลไม่ได้มีการแจกแจงความถี่

ในกรณีที่ข้อมูลไม่ได้มีการแจกแจงความถี่ วิธีการหาค่าฐานนิยม(Mo)สามารถทำได้โดยการนับจำนวนข้อมูล ซึ่งข้อมูลชุดใดมีจำนวนซ้ำกันมากที่สุดก็จะเป็นค่าฐานนิยม

การวัดการกระจายของข้อมูล

การวัดการกระจายของข้อมูลชุดเดียว เพื่อศึกษาว่าข้อมูลแต่ละค่ามีความแตกต่างกันมากน้อยเพียงไร

พิสัย (Range)

ข้อมูลที่มีค่าสูงสุด ลบกับข้อมูลที่มีค่าต่ำสุด

พิสัย (R) = Xmax - Xmin

พิสัย (R) = ค่าสูงสุด - ค่าต่ำสุด

การวัดค่ากลาง

ตัวแทนของข้อมูลทั้งหมดที่สามารถจะไปใช้ในการวิเคราะห์

ค่ากึ่งกลางพิสัย (Mid Range)

ได้จากการนำข้อมูลที่มีค่ามากที่สุด และน้อยที่สุดมาหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต

ข้อเสีย

ในกรณีใช้พิสัยกับข้อมูลที่มีจำนวนมาก การวัดจะไม่แน่นอน

ค่าพิสัยขึ้นอยู่กับขนาดของข้อมูล ถ้าข้อมูลมีจำนวนมากพิสัยก็จะมาก ถ้ามีข้อมูลจำนวนน้อยพิสัยจะน้อย

ประเภท

ข้อมูลไม่แจงแจงความถี่

ข้อมูลที่แจงแจงความถี่

ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์(Quartile Deviation )

ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย ( Mean Deviation )

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( Standard Deviation )

เป็นค่าวัดการกระจายที่สำคัญทางสถิติ เพราะเป็นค่าที่ใช้บอกถึง
การกระจายของข้อมูลได้ดีกว่าค่าพิสัย และค่าส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย

การวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ Correlation Analysis

ค่าสหสัมพันธ์ (Correlation)

เป็นสถิติที่ใช้หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ซึ่งค่สหสัมพันธ์ที่คำนวณได้จะเรียกว่า ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันพันธ์ (Correlation coefficient)

การวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ (Correlation Analysis)

การคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์เพียรสัน หรือบางครั้งเรียกว่า สหสัมพันธ์อย่างง่าย
(Simple Correlation) โดยใช้สัญลักณ์ r

คุณสมบัติของค่าสหสัมพันธ์เพียร์สัน ( r )

เป็นการวัดความสัมพันธ์เชิงเส้น

อยู่ระหว่าง -1 ถึง 1

จะมีลักษณะเหมือนความชันของเส้นการถดถอย

จะไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อตัวแปรอิสระ (X) และตัวแปรตาม(Y)เปลี่ยนไปแบบเดียวกัน

จะไม่เปลี่ยนแปลงถ้าค่าสเกล (scale) ของตัวแปรใดตัวแปรหนึ่ง
เปลี่ยนไป (ค่าของตัวแปร X หรือ Y)

มีการแจกแจงแบบเดียวกันกับที (Student t distribution)

ทิศทางของความสัมพันธ์ (Direction of the Relationship)

สหสัมพันธ์ทางบวก (Positive Corretations)
เมื่อตัวแปรตัวหนึ่งเพิ่มหรือลดลง อีกตัวแปรหนึ่งก็จะเพิ่มขึ้นหรือลดลงไปด้วย

สหสัมพันธ์ทางลบ (Negative Corretations)
เมื่อตัวแปรตัวหนึ่งมีค่าเพิ่มขึ้นหรือลดลงอีกตัวหนึ่งจะมีค่าเพิ่มหรือลดลงตรงข้ามเสมอ

สหสัมพันธ์เป็นศูนย์ (Zero Corretations)
ตัวแปรสองตัวไม่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน

Subtopic

ในการทดสอบนั้น เป็นการทดสอบว่าตัวแปรสองตัวมีความสัมพันธ์กัน
หรือไม่ เป็นการทดสอบว่าตัวแปรสองตัวมีความสัมพันธ์เชิงเส้น

ไคสแควร์ Chi-Square Test

สถิติที่ใช้ทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของกลุ่ม
ตัวอย่างที่มีเพียงกลุ่มหรือสองกลุ่ม จะใช้ทดสอบด้วยค่า
Z-test หรือ T-test

ในงานวิจัยบางเรื่องข้อมูลอาจอยู่ในรูปของความถี่ที่เป็นอิสระต่อกัน
(Discrete Data) เป็นข้อมูลที่อยู่ในระดับนามบัญญัติ(Nominal Scale) หรือข้อมูลเรียงลำดับ (Ordinal Scale) การทดสอบข้อมูลในลักษณะนี้
จะเป็นการทดสอบว่า ข้อมูลที่ได้เป็นไปตามคาดหวัง(Expected) ไว้หรือไม่ หรืออาจจะทดสอบว่าตัวแปร (Variable) มีความสัมพันธ์กันหรือไม่

ข้อมูลดังกล่าวไม่สามารถทดสอบได้ด้วย Z-test หรือ T-test ซึ่ง
เป็นสถิติแบบพารามิตริก (Parametric Statistics) แต่จะสามารถ
ทดสอบได้ด้วย "ไคสแควร์(x2)" ซึ่งเป็นสถิติแบบนอนพารามิตริก
(Nonparametric Statistics) โดยป็นสถิติที่ไม่คำนึงถึงลักษณะการแจกแจงของประชากร

t-test

การทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยที่กลุ่ม
ตัวอย่างสัมพันธ์กัน (T-test dependent samples)

มีกลุ่มตัวอย่างเพียงกลุ่มเดียวแต่ศึกษาภายใต้
เงื่อนไขของการทดลอง 2 อย่าง

เช่น การศึกษาทักษะการปฏิบัติงานของกลุ่มตัวอย่างก่อน
ได้รับยาและหลังจากได้รับยา หรือการศึกษาเจตคติของกลุ่มตัวอย่างก่อนและหลังได้รับกิจกรรมการสอนแบบใหม่ เป็นต้น