Basic Statistic
and
Data Collection
สถิติเชิงพรรณากับการวิจัย
ช่วยสรุปคุณสมบัติของสิ่งที่ศึกษา
ช่วยสรุปตัวเลขหรือหน่วยจำให้เห็นในรูปธรรม
เหมาะสำหรับการรายงานวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ
ช่วยในการตัดสินใจเบื้องต้น
จากหน่วยวิเคราะห์มีความเหมาะสมหรือไม่
สถิติเชิงพรรณาสำหรับตัวแปรเชิงคุณภาพ
ใช้กับข้อมูลที่เป็นแบบสอบถามโดยส่วยใหญ่
ต้องมีการลง Coding ถ้ารหัสใดไม่ต้องการวิเคราะห์ให้เป็น Missing Value (s)
ค่าสถิติเชิงพรรณาที่สำคัญจากการวิเคราะห์สถิติ
Frequency
Percent
นำเอาข้อมูลทุกกรณีมาวิเคราะห์
Valid Percent
เป็นการคำนวณที่ไม่เอาค่าที่ไม่ต้องการมาใช้วิเคราะห์
ใช้กับ Interval Scale และ Ratio Scale
สถิติเชิงพรรณาสำหรับตัวแปรเชิงคุณภาพ
ควรนำมาใช้เพื่อมาตรฐานในการรายงานผลการวิจัย
Minimum
Maximum
Mean
Standard Derivation
ใช้ ขนาดตัวอย่าง, Variance, Range, Standard Error of Mean, Median, Mode, Quartiles, Skewness, Kurtosis
ประเภทของสถิติ
Descriptive
Statistics
ใช้เพื่ออธิบายข้อมูลที่มีอยู่
ไม่ได้นำไปพยากรณ์ประชากร
มีสองลักษณะ
การใช้ตัวอักษรหรือตัวเลข
การใช้แผนภาพ
Inferential
Statistics
Parametric Statistics
ข้อมูลระดับInterval Scaleขึ้นไป
มีการแจกแจงเป็นโค้งปกติ
มีความแปรปรวนเท่ากัน
ใช้ t-test, Z-test, ANOVA,
Regression
การเขียนแสดงค่าใช้อักษรกรีกและอังกฤษเป็นสัญลักษณ์
Non-parametric Statistics
เป็นวิธีการทางสถิติที่สามารถนำใช้ได้โดยปราศจากข้อตกลงเบื้องต้นทั้ง 3 ประการข้างต้น
ใช้ ไคสแควร์,Median Test, Sign test
Variables
ตัวแปรตามระดับของการวัด
Qualitative
Nominal scale
จัดข้อมูลหรือตัวแปรออกเป็นกลุ่มๆ
ใช้ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ
นำไปคำนวณไม่ได้
เพศ อาชีพ
Ordinal scale
จัดเรียงข้อมูลเป็นอับดับตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
เรียฃลำดับจาก สูงสุดไปต่ำสุด
ใช้ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ
นำไปคำนวณไม่ได้
ลำดับที่ในการสอบ ความนิยม
Quantitative
Interval scale
บอกความแตกต่างของค่าที่วัดได้ในแต่ละช่วง โดยมีความห่างเท่ากัน
นำมาคำนวณบวกลบกันได้ ไม่มีศูนย์แท้
ใช้ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติชั้นสุงทุกตัว
อุณหภูมิ ระดับความคิดเห็น
Ratio scale
ใช้วัดข้อมูลระดับสูง มีความห่างของตัวเลขในแต่ละช่วงเท่ากัน
นำมาคำนวณได้ มีศูนย์แท้
ใช้ได้กับการคำนวณสถิติทุกตัว
อายุ ความสูง ระยะทาง รายได้ต่อเดือน
ตัวแปรตามบทบาท
Independent
กำหนดขึ้นเพื่อทดสอบสมมติฐาน เเละเปลี่ยนไปเพื่อจะดูผลที่ตามมา
Dependent
ผลของตัวแปรต้น
Definition
สถิติ
ตัวเลขหรือข้อมูลที่ได้จากการ
เก็บรวบรวม
ข้อมูลทางสถิติ(Statistical data)
ตัวเลขแทนปริมาณจำนวนข้อมูล
หรือข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆ
ที่โดยทั่วไปต้องการศึกษาหาความรูู้
ค่าตัวเลขที่เกิดจากการคำนวณมา
จากกลุ่มตัวอย่าง(Sample) หรือคิดมาา
จากนิยามทางคณิตศาสตร์
หลักและข้อพิจารณาในการใช้สถิติ
วัตถุประสงค์โดยทั่วไปของการใช้สถิติเพื่อการวิจัย
พรรณนาคุณสมบัติของหน่วยศึกษา/วิเคราะห์
ศึกษาความแตกต่างระหว่างกลุ่มต่างๆ ที่เป็น
เป้าหมายของการศึกษา
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
ศึกษาการประมาณค่าหรือการพยากรณ์
หลักการเบื้องต้นที่สำคัญของการใช้สถิติ
หลีกเลี่ยงการนำเสนอที่ซ้ำซาก โดยเสนอให้น้อยที่สุดแต่ต้องสื่อความหมายครบถ้วนและสมบูรณ์ในตัวเอง
เสนอในรูปแบบมาตรฐานของแต่ละวิธีการที่ใช้กันในการทำงานวิจัย
อ่านและแปลปลค่าสถิติต่างๆได้อย่างถูกต้อง
ตีความหมายผลที่ได้จากการวิเคราะห์ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด
ข้อพิจารณาการใช้สถิติเพื่อการวิจัย
ทราบวัตถุประสงค์ของการนำวิธีการสถิติมาใช้
ทราบประเภทของสถิติที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์
รู้ลักษณะของข้อมูลว่ามีการวัดระดับใด
(Level of Measurement)
สามารถกำหนดสถานภาพของตัวแปรที่ศึกษาได้ว่าเป็นตัวแปรอิสระหรือตัวแปรตาม
รู้หลักการเบื้องต้นของการใช้สถิติ
รู้การนำเสนอ การอ่าน และการตีความหมาย
การเสนอผลสถิติพรรณนาในรายงานวิจัย
เสนอในรูปตาราง
นิยมเสนอสถิติพรรณนาในรูปตาราง ถ้าเป็นตารางแสดงข้อมูลที่มีหน่วยวัดก็ต้องระบุหน่วยวัดที่ใช้กับตัวแปรแต่ละตัวอย่างชัดเจน
ระบุหมายเลขและชื่อตาราง
ทุกตารางมีหมายเลขและชื่อตารางที่บ่งบอกสำระหรือข้อมูลที่ปรากฏในตาราง
ไม่ใส่คำที่ไม่ใช่สาระ
หลังตัวเลขกำกับตารางแล้วไม่ควรมีคำบางประเภทที่ไม่ใช่สาระของข้อมูล เช่น คำว่า ที่แสดง เปรียบเทียบ
Vocabulary
Statistics สถิติ
stat ข้อมูลสารสนเทศ
Statistical data ข้อมูลทำงสถิติ
variable ตัวแปร
Nominal Scale นามบัญญัติ
Ordinal Scale เรียงอันดับ
Interval Scale อันตรภาค
Ratio Scale อัตราส่วน
Descriptive Statistics สถิติเชิงพรรณนา
Inferential Statistics สถิติอ้างอิงหรือเชิงอนุมาน
Parametric Statistics สถิติพารามิเตอร์
Non-parametric Statistics สถิติไร้พารามิเตอร์
Independent ตัวแปรอิสระ
Dependent ตัวแปรตาม
Variance การผันแปร
Range พิสัย
Standard Error of Mean ค่าผิดพลาดมาตรฐานของค่าเฉลี่ย
Median ค่ามัธยฐาน
Mode ค่าฐานนิยม
Quartiles ค่าควอไทล์
Skewness ค่าความเบ้
Kurtosis ค่าความสูง
Standard Derivation ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน