ความรู้พื้นฐานของการวิจัย
Foundation of Research

4.คุณลักษณะของการวิจัย

การวิจัย เป็นวิธีการๆหนึ่งที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ความจริงด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่มีระบบและขั้นตอนชัดเจนและมีการกำหนดจุดมุ่งหมายของการวิจัยในแต่ละครั้งอย่างชัดเจนว่าต้องการอะไร

7.ขั้นตอนในการวิจัย

1. เลือกหัวข้อปัญหา

2. การกำหนดขอบเขตของปัญหา

3. การศึกษาเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

4. การกำหนดสมมติฐาน

5. การเขียนเค้าโครงการวิจัย

6. การสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูล

7. ขั้นดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล

1.ความหมายของการวิจัย
Meaning of Research

เป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ที่มีระบบ มีขั้นตอนที่ชัดเจนปราศจากอคติส่วนตัว สามารถตรวจสอบได้ที่ผู้วิจัยนำมาใช้ศึกษาค้นคว้าข้อเท็จจริงเพื่อนำไปใช้อธิบายปรากฏการณ์ทางสังคมหรือพัฒนาเป็นกฎทฤษฎี

2.จุดมุ่งหมายของการวิจัย

2.1 มุ่งหาคำตอบเพื่อนำมาใช้แก้ปัญหา

2.2 การวิจัยเป็นการสรุปผล หลักเกณฑ์ และทฤษฎีที่ใช้ในการคาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

2.3 การวิจัยเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล หรือปรากฏการณ์ที่สังเกตได้มาใช้ในการสรุปผล

3.แนวคิดพื้นฐานของการวิจัย

3.1 กฎเหตุและผลของธรรมชาติ
(Deterministic Law of Nature)

เป็นแนวคิดที่ระบุว่าปรากฏการณ์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นนั้นจะสามารถแสวงหาสาเหตุที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์นั้นได้เสมอ ๆ

3.2 กฎความเป็นระบบของธรรมชาติ
(Systematic Law of Nature)

เป็นแนวคิดที่ระบุว่าปรากฏการณ์ใด ๆ ที่เกิดขึ้นตามกฎของเหตุและผลของธรรมชาติจะมีรูปแบบของความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ค่อนข้างจะชัดเจน

3.3 กฎความสัมพันธ์ของธรรมชาติ
(Associative Law of Nature)

เป็นแนวคิดที่ระบุว่า ในการเกิดปรากฏการณ์ใด ๆ ที่แตกต่างกันนั้น
จะมีความมากน้อยของตัวแปรที่เป็นสาเหตุและตัวแปรผลที่แตกต่างกัน

3.4 กฎองค์ประกอบหลักของธรรมชาติ
(Principle Component of Nature)

เป็นแนวคิดที่ระบุว่าตัวแปรสาเหตุและตัวแปรผลที่เกิดขึ้นนั้น ๆ ไม่ได้เป็นความสัมพันธ์เชิงเดี่ยว แต่จะมีตัวแปรอื่นๆ ที่มักจะมาเกี่ยวข้องอยู่เสมอ ๆ

3.5 กฎความน่าจะเป็นของธรรมชาติ
(Probabilistic Law of Nature)

เป็นแนวคิดที่ระบุว่าในปรากฏการณ์ ใด ๆ นั้น ความรู้ความจริงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ จะเป็นผลลัพธ์ของปรากฏการณ์ ที่มีความน่าจะเป็นในการเกิดขึ้นที่ค่อนข้างสูง

5.ธรรมชาติของการวิจัย

5.1 การวิจัยเป็นกระบวนการเชิงประจักษ์

5.2 การวิจัยเป็นการดำเนินการที่เป็นระบบ

5.3 การวิจัยมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน

5.4 การวิจัยมีความเที่ยงตรง

5.5 การวิจัยมีความเชื่อมั่น

5.6 การวิจัยมีเหตุผล

5.7 การวิจัยเป็นการแก้ปัญหา

5.8 การวิจัยต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่

5.9 การวิจัยมีวิธีการที่หลากหลาย

5.10 การวิจัยต้องใช้ศักยภาพของผู้วิจัย

6.ประเภทของการวิจัย

6.1 จำแนกตามประโยชน์ที่ได้รับหรือเหตุผลในการวิจัย

6.2 จำแนกตามลักษณะ(ความลึก/ความกว้าง)ของข้อมูล

6.3 จำแนกตามระเบียบวิธีวิจัย

6.4 จำแนกตามลักษณะของวิชาหรือศาสตร์

6.5 จำแนกตามเวลาที่ใช้ในการทำวิจัย

6.6 จำแนกประเภทการวิจัยตามเป้าหมายหลักการวิจัย

6.7 จำแนกตามการจัดกระทำ

9.ตัวแปรและสมมติฐาน

1. ความหมายของตัวแปร

1. ความหมายของตัวแปร

2. ลักษณะและชนิดของตัวแปร

2.2 ลักษณะของตัวแปร

1. ตัวแปรรูปธรรม

2.ตัวแปรนามธรรม

2.3 ชนิดของตัวแปร

1. ตัวแปรอิสระ

2. ตัวแปรตาม

3. การนิยามตัวแปรและการหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริง

4. สมมติฐาน

5. ประเภทของสมมติฐาน

6. แหล่งที่มาของสมมติฐาน

7. ลักษณะของสมมติฐานที่ดี

10.การเขียนคำถามวิจัย
Research Questions

1. ประเด็นคำถามเชิงพรรณนา

2. ประเด็นคำถามเชิงความสัมพันธ์

3. ประเด็นคำถามเชิงเปรียบเทียบ

8.การจัดกระทำข้อมูล

1.Input

เป็นการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์

2. Processing

เป็นขั้นตอนของการจัดแบ่งประเภทของข้อมูล

3. Output

เป็นขั้นตอนที่นำผลจากการขั้นตอนที่ได้จากขั้น Processingมาเขียนเป็นรายงาน

4. การสรุปผลการวิจัยและเขียนรายงาน