สังคมความรู้
ความรู้ (Knowledge)
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ “ความรู้”
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ มีความหมายที่เกี่ยวข้องกันจนในบางครั้งไม่สามารถแยกออก
จากกันได้ ซึ่งค าทั้ง 3 คำมีนักวิชาการหลายๆ ท่านได้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล สารสนเทศ
ความหมายของข้อมูล (Data)
Ackoff (1989) กล่าวว่า ข้อมูล คือ สัญลักษณ์ที่ยังไม่ได้แปรความ
พรธิดา วิเชียรปัญญา (2547) กล่าวว่า ข้อมูล หมายถึง ข้อมูลดิบที่เกิดจากการทงาน
ประจำวัน ซึ่งถือว่าเป็นข้อมูลในระดับปฏิบัติการ
ความหมายของสารสนเทศ (Information)
สารสนเทศ มาจากภาษาอังกฤษค าว่า “Information” ซึ่งมีผู้ได้ให้นิยามไว้ต่างๆ ดังนี้
สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ (2553) กล่าวว่า สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่มีคุณค่าและ
คุณประโยชน์ ทั้งในเชิงจ านวนและคุณภาพ เช่น ข้อมูลความเป็นจริงในการปฏิบัติงาน
2 ความหมายของความรู้(Definition of Knowledge)
Davenport and Prusak (1998 : 5) กล่าวว่า ความรู้ หมายถึง ส่วนผสมที่เกิดจาก
ประสบการณ์การท างาน และประสบการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ที่พร้อมจะถูกน าไปใช้เพื่อการตัดสินใจและ
การกระท าต่างๆ
Haraldsson (2003) กล่าวว่า ความรู้ คือ การไหลเวียนของความรู้สึก ปฏิกริยาตอบกลับ
การตัดสินใจ สารสนเทศและกระบวนการเรียนรู้ นอกจากนั้นความรู้ดังกล่าวยังสามารถสูญหายและ
เกิดการทดแทนขึ้นมาใหม่ได้
ภราดร จินดาวงศ์ (2549 : 4) กล่าวว่า ความรู้ คือ สิ่งที่ได้มาโดยการศึกษา ประสบการณ์
ทักษะ การอบรม การดูงาน หรืออาจเกิดจากการค้นหา ค้นคว้า ค้นพบ ได้เห็น ได้ฟังของแต่ละบุคคล
เมื่อเวลาผ่านไปความรู้จะเกิดการสะสมเพิ่มพูนมากขึ้น
กระบวนการจัดการความรู้(Processes of Knowledge)
1.การบ่งชี้ความรู้ เป็นการพิจารณาว่าจะท าอย่างไรให้องค์กรบรรลุเป้าหมาย โดยจะคัดเลือก
ว่าจะใช้เครื่องมืออะไร และขณะนี้เรามีความรู้อะไรบ้าง อยู่ในรูปแบบใด อยู่ที่ใคร โดยอาจจะ
พิจารณาว่าองค์กรมีวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าหมายคืออะไร
2.การสร้างและแสวงหาความรู้ ซึ่งสามารถท าได้หลายทาง เช่น การสร้างความรู้ใหม่
แสวงหาความรู้จากภายนอก รักษาความรู้เก่า ก าจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว
3.การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้ เพื่อเตรียมพร้อมส าหรับการเก็บ
ความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อการเรียกใช้งานได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องในอนาคต
4.การประมวลและกลั่นกรองความรู้ เช่น การปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน ใช้
ภาษาเดียวกัน และปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์และเหมาะสม
5.การเข้าถึงความรู้ เป็นการท าให้ผู้ใช้ความรู้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก โดย
การใช้พวกระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ(IT) หรือการประชาสัมพันธ์บน Web board
นิยามหรือความหมายของสังคมความรู้(Definition of Knowledge Society)
สังคมความรู้ หมายถึง สังคมที่มีการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสารสนเทศสูง จาก
ความรู้ที่มีบุคลากรทำงานโดยใช้ทักษะและความรู้ส
ยุคของสังคมความรู้(Knowledge Society Era)
สังคมความรู้ยุคที่ 1 เป็นสังคมความรู้ที่มีพลังและอ านาจอยู่ด้วยกัน เกิดการผลิต มี
ความสามารถในการแข่งขัน กลไกตลาด และความอยู่รอด ในยุคนี้นักวิชาการหรือนักวิชาชีพ จะมี
บทบาทหลักในการจัดการความรู้ ใช้พลังของความรู้ มีความเป็นมืออาชีพการจัดการความรู้ หรือการ
พัฒนาความรู้ (Knowledge Management) เป็นอย่างมาก
Su สังคมความรู้ยุคที่ 2 เป็นสังคมความรู้แบบพอเพียง สมดุล บูรณาการ ประชาชนและทุก
ภาคส่วนมีบทบาทในการร่วมกันเป็นเจ้าของ และเป็นผู้ใช้ความรู้ให้เป็นพลัง มีความเป็นอิสระ และ
พึ่งตนเอง นักวิชาการ นักวิชาชีพมีบทบาทเป็น Knowledge Broker ท าให้เกิดเป็นวิจัยแบบบูรณาbtopic
ลักษณะสังคมแห่งการเรียนรู้
ไม่จำกัดขนาดและสถานที่ตั้ง
เน้นการจัดการเรียนรู้เป็นปัจจัยหลัก
สถาบันทางสังคมในพื้นที่เป็นตัวหลักในการริเริ่ม/ดำเนินการ (Key Institutions)
มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการอย่างต่อเนื่อง