การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
1. ประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน
2. ประเมินการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของทุกฝ่าย
แนวทางการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
ระดับสถานศึกษา
1. การกำหนดมาตรฐานของสถานศึกษา
2. การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
3. การดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
4. การประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
5. การติดตามผลการดำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษา
6. จัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง
ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
1. ศึกษา วิเคราะห์ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
2. รวบรวม และสังเคราะห์รายงานผล
3. ติดตามผลการดำเนินงาน ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ
4. ให้ความร่วมมือ สมศ. ในการประเมินคุณภาพภายนอก
5. อาจมอบหมายบุคคลที่ไม่ได้เป็นผู้ประเมินเข้าร่วมสังเกตการณ์
ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(สพฐ.)
1. ส่งสริม สนับสนุนให้คำปรึกษา
ช่วยเหลือ
2. ศึกษาวิเคราะห์สรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(SAR)
3. ติดตามผลการดำเนินงาน ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ
4. ประสานความร่วมมือกับ สมศ.
การบริหารการประกันคุณภาพภายใน
ควบคุมคุณภาพ (สอดคล้องกับ P,D)
ตรวจสอบคุณภาพ (สอดคล้องกับ C)
ประเมินคุณภาพ (สอดคล้องกับ A)
ขั้นตอนการประกันคุณภาพภายใน
การควบคุมคุณภาพ
การตรวจสอบคุณภาพ
การประเมินคุณภาพ
วัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
1. เพื่ตรวจสอบคุณภาพ และผลการปฏิบัติงานของสถานศึกษา
2. เพื่อนำผลการประเมินมาใช้ในการตัดสินใจวางแผน
3. เพื่อรายงานผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
4. เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับการประเมินจากองค์กรภายนอก
หลักการบริหารวงจรคุณภาพ PDCA
P (Plan) = ร่วมกันวางแผน
D (Do) = ร่วมกันปฏิบัติ
C (Check) = ร่วมกันตรวจสอบ
A (Act) = ร่วมกันปรับปรุง
มาตรฐานการศึกษา
การกำหนดมาตรฐานการศึกษา
มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาชาติ
มาตรฐานการศึกษาในแต่ละระดับ
มุ่งเน้นคุณภาพมาตรฐานขั้นต้น